นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
สื่อการสอน เรื่อง เวลาและการบันทึก
สวนสัตว์ จำนวนนับ ตอน 2”โลกใต้ทะเล”
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
บทที่ 1 “จำนวนนับ 1 ถึง 5 และ 0”
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ผู้พระราชทานกำเนิดลูกเสือไทยคือใคร
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
เรื่องความรู้ทางภาษา
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
ตัวเลขไทย.
ความแตกต่างด้านไวยากรณ์
การยิงสลุตหลวง.....โดยกอง รปภ.ฐท.กท.
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
การเปรียบเทียบค่าเงินเหรียญ
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
นิทานเวตาล น.ม.ส. เข้าสู่บทเรียน.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียน.
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การฟังเพลง.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเชิงวิเคราะห์
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
แผนการจัดการเรียนรู้
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
การเขียนรายงาน.
สื่อการเรียนรู้ เรื่องเครื่องหมายวรรคตอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6) เครื่องหมายวรรคตอน สำหรับ นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ..อรัญญา บุญเลิศ..

คุยกันก่อน เครื่องหมายวรรคตอน เป็น เครื่องหมายต่างๆ ที่ใช้กำกับคำหรือข้อความเพื่อให้ข้อความนั้นมีความชัดเจนและถูกต้องยิ่งขึ้น ในฐานะที่เราเป็นคนใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร จึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อการสื่อสารที่ถูกต้องและเหมาะสม นักเรียนควรตั้งใจและมีสมาธิ ในการศึกษาสื่อ E-book เรื่องนี้ เพื่อตัวนักเรียนเอง เชื่อครูแล้ว จะได้เป็นคนเก่ง งัยจ๊ะ

เครื่องหมายวรรคตอน

เป็น เครื่องหมายต่างๆ ที่ใช้กำกับคำหรือข้อความ ความหมาย เครื่องหมายวรรคตอน เป็น เครื่องหมายต่างๆ ที่ใช้กำกับคำหรือข้อความ เพื่อให้ข้อความนั้นมีความชัดเจน และถูกต้องยิ่งขึ้น

เครื่องหมายวรรคตอนที่ควรรู้

1. . มหัพภาค * ใช้เพื่อแสดงว่าจบประโยคหรือจบความ (มักใช้ในภาษาต่างประเทศ) เช่น I love you. ใช้เขียนไว้หลังตัวอักษรเพื่อแสดงว่าเป็นอักษรย่อ เช่น พ.ศ. ร.ร. ใช้เขียนหลังตัวเลขหรือตัวอักษรที่บอกลำดับข้อ เช่น ข้อ ๑. ข้อ ก. ใช้คั่นระหว่างชั่วโมงกับนาทีเพื่อบอกเวลา เช่น ๑๐.๑๕ น. ใช้เป็นจุดทศนิยม หลังจุดทศนิยมให้อ่านตัวเลขเรียงกันไป เช่น ๑.๒๓ อ่านว่า หนึ่งจุดสองสาม ๘.๕๐ บ. อ่านว่า แปดบาทห้าสิบสตางค์

* ใช้เพื่อแสดงว่าจบประโยคหรือจบความ (มักใช้ในภาษาต่างประเทศ) เช่น I love you. ใช้เขียนไว้หลังตัวอักษรเพื่อแสดงว่าเป็นอักษรย่อ เช่น พ.ศ. ร.ร. ใช้เขียนหลังตัวเลขหรือตัวอักษรที่บอกลำดับข้อ เช่น ข้อ ๑. ข้อ ก. ใช้คั่นระหว่างชั่วโมงกับนาทีเพื่อบอกเวลา เช่น ๑๐.๑๕ น. ใช้เป็นจุดทศนิยม หลังจุดทศนิยมให้อ่านตัวเลขเรียงกันไป เช่น ๑.๒๓ อ่านว่า หนึ่งจุดสองสาม ๘.๕๐ บ. อ่านว่า แปดบาทห้าสิบสตางค์

2. ! อัศเจรีย์ ใช้เขียนหลังคำ วลี หรือประโยคที่เป็นคำอุทาน แสดงความตกใจ หรือประหลาดใจ ดีใจ เช่น อุ๊ย ! ไม่น่าเชื่อเลย โถ ! น่าสงสารจริง ใช้เขียนหลังคำเลียนเสียงธรรมชาติ เพื่อให้สามารถทำเสียงได้เหมาะสมกับเหตุการณ์เรื่องนั้นๆ เช่น โครม! เปรี้ยง!

3. ( ) นขลิขิต หรือ วงเล็บ มีหลักเกณฑ์การใช้ ดังนี้ ใช้กันข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่น เช่น เจ้าพระยาพระคลัง(หน) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ ๖ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์)