นโยบายอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน สภาอุตสาหกรรมขอเข้าพบหารือและรับฟังนโยบายด้านพลังงาน วันพฤหัสบดีที่ 1 กรกฎาคม 2553 1
สถานการณ์พลังงานของไทยในปี 2552 น้ำมันสำเร็จรูป ไฟฟ้า ถ่านหิน/ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ พลังงานทดแทน 47.7% 17.4% 10.7% 5.4% 18.8% ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามชนิดพลังงาน ธุรกิจการค้า การขนส่ง อุตสาหกรรม 7.6% 35.7% ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามภาคเศรษฐกิจ 36.6% The First I would like to present energy situation in Thailand 2008 Energy consumption in Thailand is continuously increased during the year 2004-2008 with an average annual growth rate of 2% In 2008 the total final energy consumption was about 66 Million tons of oil equivalent. Final energy consumption by economic sector, you will see the Transportation and Manufacturing are big consumptions that consumed the final energy amount for 72% of the country energy demand. In transportation is almost used petroleum products and for industrial sector is mixed consisting of petroleum products, natural gas, coal and agricultural waste. The total value of energy imported is a large financial burden on our country. Especially the imported petroleum product is a major portion about 97% of total value of energy imported. 5.2% 14.9% เกษตรกรรม บ้ายอยู่อาศัย ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 66.3 Mtoe (มูลค่านำเข้า 34,056 Million USD)* *1 USD = 33 THB Ref : DEDE, Thailand Energy Situation 2009
นโยบายพลังงานของประเทศ 2. พัฒนาพลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ 1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน 3. ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างต่อเนื่อง นโยบายพลังงานของประเทศ 4. กำกับดูแลราคาพลังงานให้เหมาะสมเป็นธรรม และมีเสถียรภาพ 5. ใส่ใจดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมควบคู่กับการพัฒนาและการใช้พลังงานสะอาด
เป้าหมายการลด Energy Intensity (EI) ในภาคอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ 9.03 8.74 ktoe/พันล้านบาท ปีฐาน 3% 8% 14% 20% 25% 2553 2563 2573
กลยุทธ์แผนเพิ่มประสิทธิภาพ บริหาร เงินหมุนเวียน สินเชื่อพลังงาน ESCO Fund สิทธิประโยชน์ทางภาษี องค์ความรู้ งานวิจัย / ศึกษา ศูนย์ข้อมูล / ความรู้ สังคม กฎหมาย ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ Thailand Energy Awards พัฒนาบุคคลากร EE Display Center เครือข่ายพลังงาน Voluntary Agreement บ้าน วัด โรงเรียน ชุมชน ทหาร การอนุรักษ์พลังงานในกระบวนการผลิต/แบบมีส่วนร่วม มาตรฐานการจัดการพลังงาน (โรงานควบคุม/อาคารควบคุม) Building Code มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงาน อุปกรณ์ 5
สถานภาพการดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พลังงาน ต่อไปจะเป็นการนำเสนอในส่วนของดัชนีชี้วัดและเป้าหมายการดำเนินการในส่วนของ สกอ. 6 6 6
การจัดการพลังงานตามกฎหมาย “ส่งเสริมและกำกับดูแลโรงงาน/อาคารควบคุม (เอกชน) ” ผลการดำเนินงาน เริ่มตั้งแต่ปี 30 ก.ย. 52 – 25 พ.ค. 53 โรงงานควบคุมจำนวน 3,647 แห่ง สัมมนา (Workshop) 8 ครั้ง โรงงานเข้าร่วม 2,200 แห่ง มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานแล้ว 1,945 แห่ง ส่งรายงานการจัดการพลังงานแล้ว 283 แห่ง อาคารควบคุมจำนวน 2,014 แห่ง สัมมนา (Workshop) 7 ครั้ง อาคารเข้าร่วม 1,089 แห่ง แต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงานแล้ว 1,823 แห่ง ตรวจสอบรายงานการจัดการพลังงานแล้ว 43 แห่ง โครงการลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากชีวมวล 9 โครงการ โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 1 โครงการ โครงการผลิตก๊าซชีวภาพ 1 โครงการ โครงการเปลี่ยนหม้อไอน้ำเชื้อเพลิงชีวมวล 1 โครงการ โครงการผลิตน้ำร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสมผสาน 2 โครงการ โครงการเข้าร่วมทุนกับบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) 2 โครงการ โครงการด้านการเช่าซื้อ และขยายการจำหน่ายอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 10 โครงการ 7 7 7
โครงการ Building Energy Code ผลการดำเนินงาน ออกกฎกระทรวง Building Code (มีผลบังคับใช้ 20 มิ.ย. 52) ออกประกาศกระทรวงฯ เพิ่มเติม 2 ฉบับ (มีผลบังคับใช้ 28 ส.ค. 52) จัดสัมมนาฝึกอบรมให้กับผู้เกี่ยวข้อง 7 ครั้ง (900 คน) ประสานงาน กรมโยธาฯ, กทม, หน่วยงานท้องถิ่น เพื่อบังคับใช้มาตรฐาน ฝึกอบรมวิศวกร และผู้ที่เกี่ยวข้องในหลักสูตรการอนุรักษ์พลังงานในอาคารและฝึกปฏิบัติการ ในโปรแกรมการออกแบบ 10 ครั้ง นำข้อมูลเผยแพร่ในเครือข่ายนิตยสาร วารสาร และเว็บไซด์ บันทึกความร่วมมือ (MOU) กับจังหวัดต่างๆ เช่น กทม. พัทยา นครราชสีมา เชียงใหม่ สงขลา การจัดทำโปรแกรมและคู่มือโปรแกรมการออกแบบอาคาร จัดทำคู่มือมาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร การดำเนินงานระยะต่อไป 8 ประสานงานและผลักดันให้กฎหมายมีผลบังคับใช้ พร้อมทั้งเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 8 8
โครงการเงินหมุนเวียน ผลการดำเนินงาน ผลจากการดำเนินงาน 5 ระยะ (ตั้งแต่ปี 2546 - ปัจจุบัน) โครงการที่ได้รับการอนุมัติ 276 ข้อเสนอ วงเงินลงทุน 14,476 ล้านบาท งบประมาณกองทุน 7,342.50 ล้านบาท พพ. อนุมัติวงเงิน 6,868 ล้านบาท มูลค่าผลการประหยัด 4,939 ล้านบาท/ปี ลดการนำเข้าน้ำมันดิบ 310.79 ktoe/ปี Pipe Line ในปี 2553 ได้รับงบประมาณเพิ่มเติมอีก 500 ล้านบาท โครงการ 5 ข้อเสนอ วงเงินลงทุน 138 ล้านบาท วงเงินที่ พพ. ต้องอนุมัติ 84 ล้านบาท 9 9 9
โครงการสินเชื่อพลังงาน ผลการดำเนินงาน เริ่มตั้งแต่ปี 2551 - ปัจจุบัน มูลค่าการปล่อยสินเชื่อ 120,667.41 ล้านบาท ผลการประหยัด 40,222.47 ล้านบาท/ปี ลดการนำเข้าน้ำมันดิบ 1,608.89 ktoe/ปี การดำเนินงานระยะต่อไป ติดตามผลการดำเนินงานจากสถาบันการเงินรายไตรมาสอย่างต่อเนื่อง 10 10 10
โครงการส่งเสริมธุรกิจ ESCO ผลการดำเนินงาน จัดงาน ESCO Fair ขนาดใหญ่ที่ส่วนกลางจำนวนปีละ 1 ครั้ง ต่อเนื่อง 3 ปี จัดงาน ESCO Fair ในส่วนภูมิภาค จำนวนปีละ 5 ครั้ง ต่อเนื่อง 3 ปี จัดการประชุม ESCO Bank – Networking จำนวน 14 ครั้ง จัดตั้ง ESCO Information Center เยี่ยมชมหน่วยงานต้นแบบที่เกี่ยวข้องกับ ESCO ในประเทศญี่ปุ่น จัดทำวีดีทัศน์ความสำเร็จจากการดำเนินงานธุรกิจ ESCO จำนวน 10 แห่ง โครงการส่งเสริมธุรกิจบริษัทจัดการพลังงาน วัตถุประสงค์ ส่งเสริม เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ธุรกิจ ESCO จัดขยายเครือข่ายระหว่างบริษัท ESCO ผู้ประกอบการและสถาบันการเงิน และพัฒนา ESCO Information Center อย่างเป็นระบบ เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหารโรงงานอุตสาหกรรม/อาคาร ที่มีความพร้อมและมีศักยภาพในการอนุรักษ์พลังงานสามารถเลือกลงทุนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานได้อย่างเหมาะสม สรุปผลการดำเนินงาน (ข้อมูล ณ กุมภาพันธ์ 2553) จัดงาน ESCO Fair ขนาดใหญ่ที่ส่วนกลางจำนวนปีละ 1 ครั้ง ต่อเนื่อง 3 ปี มีผู้สนใจเข้าร่วมงานจำนวนประมาณ 3,300 คน จัดงาน ESCO Fair ในส่วนภูมิภาค จำนวนปีละ 5 ครั้ง ต่อเนื่อง 3 ปี มีผู้สนใจเข้าร่วมงานจำนวนประมาณ 1,500 คน จัดการประชุม ESCO Bank – Networking จำนวน 14 ครั้ง ซึ่งเป็นการประชุมร่วมกันระหว่างสถาบันพลังงานฯ บริษัทจัดการพลังงานและสถาบันการเงิน เพื่อให้แต่ละฝ่ายมีความเข้าใจในธุรกิจ ESCO จัดตั้ง ESCO Information Center เพื่อเป็นศูนย์กลางการลงทะเบียนและจัดประเภทบริษัท ESCO ที่มีศักยภาพด้านต่างๆเพื่อความเหมาะสมในการบริการแก่กลุ่มเป้าหมาย เยี่ยมชมหน่วยงานต้นแบบที่เกี่ยวข้องกับ ESCO ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลสำหรับในการวางโครงสร้าง นโยบายและแผนการดำเนินงานสำหรับจัดตั้งองค์กรหรือสมาคม ESCO ในประเทศไทย จัดทำวีดีทัศน์สถานประกอบการที่ประสบความสำเร็จจากการดำเนินงานจากธุรกิจ ESCO จำนวน 10 แห่ง 11 11 11
โครงการได้รับอนุมัติ 26 โครงการ ใช้เงินของกองทุน 367.32 ล้านบาท โครงการ ESCO Fund ผลการดำเนินงาน เริ่มตั้งแต่ปี 2551 - ปัจจุบัน โครงการได้รับอนุมัติ 26 โครงการ ใช้เงินของกองทุน 367.32 ล้านบาท ก่อให้เกิดการลงทุน 4,474.58 ล้านบาท มีผลประหยัด 299.75 ล้านบาท/ปี ลดการนำเข้าน้ำมันดิบ 26.16 ktoe/ปี โครงการลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากชีวมวล 9 โครงการ โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 1 โครงการ โครงการผลิตก๊าซชีวภาพ 1 โครงการ โครงการเปลี่ยนหม้อไอน้ำเชื้อเพลิงชีวมวล 1 โครงการ โครงการผลิตน้ำร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสมผสาน 2 โครงการ โครงการเข้าร่วมทุนกับบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) 2 โครงการ โครงการด้านการเช่าซื้อ และขยายการจำหน่ายอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 10 โครงการ ในปี 2553 ได้รับงบประมาณเพิ่มเติมอีก 500 ล้านบาท 12 12 12
โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษีร่วมกับกรมสรรพากร (Tax Cost Base) ผลการดำเนินงาน เริ่มตั้งแต่ปี 2552 - ปัจจุบัน ประกาศรายชื่ออุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงานจำนวน 13 ประเภท - อุปกรณ์ที่ได้รับฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 จำนวน 9 ประเภท - อุปกรณ์ที่ได้รับฉลากประสิทธิภาพสูง จำนวน 4 ประเภท ประกาศเกณฑ์คุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่สามารถขอรับการรับรองจาก พพ. จำนวน 19 ประเภท ได้แก่ - อุปกรณ์ที่ได้รับฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 จำนวน 9 ประเภท - อุปกรณ์ที่ได้รับฉลากประสิทธิภาพสูง จำนวน 4 ประเภท - อุปกรณ์อื่นๆที่ประกาศจาก พพ. 6 ประเภท ได้แก่ เครื่องทำน้ำเย็น, เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า, กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า, มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส, หม้อไอน้ำ, และฮีตปั๊มแบบใช้อากาศเป็นแหล่งพลังงาน 13 13 13
โครงการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (BOI) ผลการดำเนินงาน เริ่มตั้งแต่ปี 2548 - ปัจจุบัน โครงการที่ได้รับการอนุมัติ 43 ข้อเสนอ วงเงินลงทุน 8,308 ล้านบาท มูลค่าผลการประหยัด 2,452 ล้านบาท/ปี หมายเหตุ ประกาศ 2/2552 BOI ดำเนินงานเองในส่วนของการส่งเสริมการลงทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งได้มีโครงการด้านพลังงานได้รับการอนุมัติทั้งสิ้น 13 โครงการ ก่อให้เกิดการลงทุน 5,217 ล้านบาท และผลประหยัด 455 ล้านบาท/ปี การส่งเสริมการลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ประหยัดพลังงานหรืออุปกรณ์ซึ่งใช้พลังงานทดแทน [ส.9/2547,ส.10/2547 และ ส.4/2548] 14 ข้อเสนอ การส่งเสริมการลงทุนในกิจการด้านจัดการพลังงาน (ESCO) [ส.9/2547] 19 ข้อเสนอ การยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักรที่ใช้เพื่อการประหยัดพลังงาน [5/2548] 10 ข้อเสนอ รวม 43 ข้อเสนอ 14 14 14
การอนุรักษ์พลังงานในกระบวนการผลิตของโรงงานควบคุมประเภทสิ่งทอและอาหาร ผลการดำเนินงาน มีโรงงานควบคุมเข้าร่วมโครงการจำนวน 42 แห่ง - เป็นโรงงานควบคุมประเภทสิ่งทอ จำนวน 21 แห่ง - เป็นโรงงานควบคุมประเภทอาหาร จำนวน 21 แห่ง เกิดผลการอนุรักษ์พลังงาน ดังนี้ - ประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ 929,326,826 MJ/ปี - ประหยัดพลังงานความร้อนได้ 96,055,766 MJ / ปี - ผลประหยัดรวม 188,382,593 MJ / ปี หรือ 5.50 ktoe / ปี - คิดเป็นมูลค่า 119,395,718 บาท - มีเงินลงทุนรวม 69,638,691 บาท การดำเนินงานระยะต่อไป ปี 2552 เคมี อโลหะ อยู่ระหว่างการดำเนินงาน ปี 2553 โลหะมูลฐาน และผลิตภัณฑ์โลหะ อยู่ระหว่างการคัดเลือกที่ปรึกษา 15 15 15