ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

การจัดทำความตกลงการค้าเสรี อาเซียน - สหภาพยุโรป
กรอบความร่วมมือทาง เศรษฐกิจ กลุ่มที่ 8 สำนักบริหาร มาตรฐาน 1.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สรุปประเด็นกลุ่ม 1 การเตรียมการและการ กำหนดท่าทีในการเจรจา ต่อรองในระดับสากล.
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Free Trade Area กลุ่มที่ 8 สำนักบริหาร มาตรฐาน 1.
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
Digital Engineering for Product Design, Development & Manufacturing รศ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
Free Trade Area Bilateral Agreement
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
การเตรียมการของประเทศไทยเพื่อรองรับการค้าเสรี
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT.
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่ม ในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สัมนาเรื่อง “ เราได้อะไรจากสำมะโนอุตสาหกรรม พ. ศ. 2550” หัวข้อบรรยาย ประโยชน์ของข้อมูลจากสำมะ โนอุตสาหกรรม สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม.
1 การเจรจาเพื่อจัดทำ ความตกลงเขต การค้าเสรีอาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี  ความเป็นมาและสถานะ ล่าสุด 
หัวข้อ“ โอกาสของภาคอุตสาหกรรมไทย จาก FTA ไทย-ชิลี”
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การตอบข้อหารือเกี่ยวกับเคมีภัณฑ์/ผลิตภัณฑ์ที่อาจเป็นสารควบคุมตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหน้าที่รับผิดชอบ.
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
1. Free flow of goods สินค้าเข้าออกประเทศเสรี -Tariff 0% and non-tariff barriers ลดอุปสรรค -Rules of origin (ROO) ผลิต สินค้าได้ตามเงื่อนไข -Trade facilitation.
การเสริมสร้างขีดความสามารถ ผู้ประกอบการ ปี 2557
การเปิดเสรีการลงทุนและการเคลื่อนย้ายเงินลงทุนระหว่างประเทศ
ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีใต้
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
สิทธิประโยชน์ทางการค้า
TAFTA: การลดภาษี ศุลกากรของไทย สิ่งทอ เสื้อผ้า รองเท้า อัญมณี ฤทธิ์ ศยามานนท์ ผู้อำนวยการส่วนเปิดเสรีการค้าทวิภาคีและ พหุภาคี สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 28.
TAFTA: การลดภาษีศุลกากรของไทย ปิโตรเคมี และผลิตภัณฑ์พลาสติก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
OIE: OFFICE OF INDUSTRIAL ECONOMICS
แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
โดย อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี การประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างสมรรถนะ.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (ASEAN-Japan Comprehensive Economic Partnership-AJCEP) ผู้นำลงนาม Framework for ASEAN-Japan Comprehensive Partnership เมื่อปี 2003 เริ่มเจรจาเมษายน 2005 / เจรจามาแล้ว 7 รอบ (ล่าสุดเมื่อเดือนเมษายน 2550) กำหนดเจรจาให้เสร็จในปี 2007 คาดว่า ความตกลงจะมีผลบังคับใช้ได้ในปี 2008

สาระสำคัญของการเจรจาความตกลง AJCEP 4 Pillars คือ การเปิดเสรี กฎเกณฑ์ทางการค้า การอำนวยความสะดวกทางการค้า และความร่วมมือ การเปิดเสรีได้แก่ การเปิดตลาดสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน กฎเกณฑ์ทางการค้า เช่น กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า การอำนวยความสะดวกทางการค้า เช่น พิธีการศุลกากร การค้าไร้กระดาษ ความร่วมมือ เช่น SMEs, ICT, HR เป็นต้น Single Undertaking – จะต้องตกลงในทุกเรื่องของการเจรจาก่อนที่จะสรุปผลการเจรจา

เป้าหมายของไทยในการเจรจา AJCEP ไทยมีความตกลงทวิภาคี (JTEPA) กับญี่ปุ่นแล้ว ดังนั้น การเจรจาภายใต้ AJCEP คือ การเจรจาที่จะต้องมีมูลค่าเพิ่ม (Value-added) มากกว่าความตกลง JTEPA คือ จะต้องได้ประโยชน์เพิ่มเติมจากความตกลง JTEPA หากความตกลง AJCEP มีผลบังคับใช้ คาดว่า จะทำให้ประเทศในอาเซียนเป็นฐานการผลิต (Production Network) ของญี่ปุ่นมากขึ้น และไทยอาจได้รับประโยชน์ในเรื่องกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า โดยสามารถใช้วัตถุดิบจากประเทศอาเซียนในการผลิตสินค้าเพื่อส่งออกไปญี่ปุ่น รวมทั้งส่งออกวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิตในประเทศอาเซียนอื่นๆ

การเจรจาการเปิดตลาดสินค้า ขณะนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลง Modality การเปิดตลาดได้ในหลักการแล้ว โดยภายใต้ AJCEP อาเซียนและญี่ปุ่นจะดำเนินการเปิดตลาดตาม Modality จะมีการแลกเปลี่ยนรายการสินค้า ในเดือนมิถุนายน 2550 ก่อนการเจรจารอบที่ 8

(Tariff reduction to 0-5%) Japanese Proposal 96.8% 99% 100% Coverage Target (Trade Volume) 92% 88% 90% Normal Track (Tariff elimination within 10 years) Sensitive List (Tariff reduction to 0-5%) Highly Sensitive List (other commitments) Exclusion Immediate elimination 10 year elimination ・No more than 50% tariff rate  (including no more than 20% tariff rate and tariff reduction by 10-50 %) Tariff reduction to 0-5% within 10 years (with particular safety-net measures for 2% (TV) at maximum) 5 year elimination ญี่ปุ่นยกเลิกภาษีสินค้าในกลุ่ม NT เป็นจำนวน 92% (ของมูลค่าการนำเข้าจากอาเซียน – TV) ภายใน 10 ปี โดยแบ่งเป็น ยกเลิกทันที 88% ยกเลิกภายใน 5 ปี – 90 % ยกเลิกภายใน 10 ปี – 92 % สินค้าในกลุ่ม Sensitive List มีจำนวน 4.8% ของ TV โดยลดภาษีเหลือ 0-5% ภายใน 10 ปี โดยภายใต้ Sensitive List จะมีรายการสินค้าภายใต้มาตรการ Safety-Net ไม่เกิน 2% โดยอาจเป็นการให้โควตากับสินค้าเหล่านั้น สินค้าในกลุ่ม Highly Sensitive List มีจำนวน 2.2% ของ TV โดยภาษีจะไม่เกิน 50% และอาจมีเงื่อนไขอื่นๆ (เช่น อาจมีการเจรจาใหม่ภายใน x ปี ข้างหน้า) สินค้าในกลุ่ม Exclusion มีจำนวน 1%

(Tariff reduction to 0-5%) ASEAN 6 Proposal 93.8% ≤99% 100% Coverage Target (Trade Volume) 90% Normal Track (Tariff elimination within 10 years) Sensitive List (Tariff reduction to 0-5%) Highly Sensitive List (other commitments) Exclusion Immediate elimination (as provided in bilaterals) ・No more than 50% tariff rate   (as provided in bilaterals) Tariff reduction to 0-5% within 10 years อาเซียนนำสินค้ามาลด/ยกเลิก ภาษีในกลุ่ม Normal Track จำนวน 90% ของ TL ภายในระยะเวลา 10 ปี กลุ่มอื่นๆ ได้แก่ Sensitive List / Highly-Sensitive List / Exclusions จะใช้ตามความตกลงทวิภาคี เปรียบเทียบ modality ของอาเซียนและญี่ปุ่น อาเซียนมีกลุ่มสินค้า NT 90% ขณะที่ญี่ปุ่นมี 92% และลดภาษีทันที 88% [ ญี่ปุ่นลด/ยกเลิก มากกว่าอาเซียนในฐานะทีเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ] ภายใต้ AJCEP ญี่ปุ่นจะเปิดตลาดสินค้าให้กับอาเซียนเพิ่มขึ้นกว่าความตกลงทวิภาคี [ แต่ยังไม่รู้ว่าเป็นสินค้าใด ] แต่ภายใต้ Modality นี้ อาเซียน (ไทย) จะไม่เปิดตลาดให้ญี่ปุ่นไปมากกว่าความตกลงทวิภาคี

การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการและการลงทุน จะไม่มีการเปิดเสรีเพิ่มเติมไปจากความตกลงทวิภาคี โดยข้อบทจะเป็นแบบ Minimalist Approach จะตั้งคณะกรรมการเพื่อหารือเรื่องแนวทางการเจรจาการเปิดตลาดและขยายความร่วมมือในอนาคต

ความร่วมมือในสาขาต่างๆ การส่งเสริมบรรยากาศทางธุรกิจ ทรัพย์สินทางปัญญา เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HR) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การท่องเที่ยว การขนส่งและระบบ Logistics มาตรฐานการยอมรับร่วมกัน ความร่วมมือด้านการเงิน ความปลอดภัยทางอาหาร SPS TBT อื่นๆ ตามแต่ความสนใจของแต่ละฝ่าย ญี่ปุ่นจะมีงบประมาณสำหรับการดำเนินการภายใต้ AJCEP อีก 52 ล้านเหรียญ US$

การดำเนินการต่อไป จะมีการประชุมเจรจารอบที่ 8 ในเดือนมิถุนายน 2550 คณะทำงานในเรื่องต่างๆ เช่น การค้าบริการ/การลงทุน / กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า / การระงับข้อพิพาท / ความร่วมมือฯ จะเริ่มหารือในเดือนมิถุนายน 2550