การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
Advertisements

กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
กรมอนามัยกับระบบอาหารปลอดภัยของจังหวัด(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ถอดรหัสสุ่มประเมิน แท่ง เชียงราย / พะเยา เจาะลึกเฉพาะเชียงราย
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ 142,234 แห่ง เป้าหมายการดำเนินงานอาหารสะอาด รสชาติ อร่อย ปี 2549 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐาน 60%
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย

1. บทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ศึกษาวิเคราะห์วิจัยและปัญหา องค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำ บริโภคให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตคนไทย พัฒนาและจัดทำเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำสะอาด เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกลไกการดำเนินงานให้เป็นไปตามกฏหมายว่าด้วยการสาธารณสุขและกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง พัฒนา ผลักดันและปรับปรุงให้เกิดนโยบายสาธารณะ และกฏหมายที่จำเป็นด้านสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยบี และพัฒนาหลักสูตรด้านสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภคให้กับภาคีเครือข่ายเพื่อให้เกิดการผลักดันให้งานสุขาภิบาลอาหารและน้ำบริโภคเป็นไปตามมาตรฐานและกฏหมายแก่ประชาชนอย่างดีและมีคุณภาพ

1. บทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 1. บทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ จัดการสนับสนุนและพัฒนาระบบเครือข่ายในการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภคในทุกระดับ ทุกภาคส่วนในการให้ข้อมูลการเฝ้าระวัง การติดตามสถานการณ์และการร่วมดำเนินงานปรับปรุงสถานการณ์สุขาภิบาลอาหาร ภายในประเทศให้เป็นระบบอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานงานสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค รวมไปถึงระบบที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการกำกับ ติดตาม ประเมินผล นำไปสู่การพัฒนานโยบายกฎหมาย และการมีคุณภาพของระบบการดำเนินงาน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารงานสุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ผ่านระบบต่าง ๆ

2. โครงสร้างของการดำเนินงานด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร 2. โครงสร้างของการดำเนินงานด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร การจำหน่ายอาหาร การอบรมผู้ประกอบการ ส่งเสริมจัดตั้งชมรม การรณรงค์เผยแพร่ สิ่งสนับสนุนต่าง ๆ สนับสนุนแหล่งเงินทุน สนันสนุนการปรับปรุงสถานประดอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน การตรวจแนะนำ กายภาพ ชีวภาพ สถานประกอบการ ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารโรงเรียน ตลาดสด ได้มาตรฐาน ไม่ได้มาตรฐาน ความรู้ ฯ ค้าอาหาร การสุ่มประเมิน การรับรองมาตรฐาน (CFGT. ตลาดสดน่าซื้อ)

2. โครงสร้างของการดำเนินงานด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร 2. โครงสร้างของการดำเนินงานด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร อาหารถุง อบรม ผู้ประกอบการ ตรวจแนะนำ สถานประกอบการ + มากกว่า 30% ในตลาด สุ่มประเมิน 30 % ของตลาดประเภทที่ 1 ตรวจ ทางชีวภาพ + น้อยกว่า 30% สุ่มประเมินเป็นระยะ

3. ปัญหาของการดำเนินการด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร 3. ปัญหาของการดำเนินการด้านความไม่ปลอดภัยของอาหาร ในการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำในปัจจุบันมีเฉพาะรบบรายงานผลการดำเนินงานเท่านั้น ยังขาดระบบสารสนเทศในการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหาร ตามคำสั่งกรมอนามัยที่ 1534/2549 แต่งตั้งคณะทำงานหน่วยปฎิบัติการเฉพาะกิจเคลื่อนที่เร็วกรมอนามัย ซึ่งเป็นการดำเนินงานเพื่อแก้ไขเมื่อภาวะฉุกเฉินโรคระบาด ภัยธรรมชาตและอื่น ๆ เป็นการดำเนงานเฉพาะกรณี ขาดการวางแผนการจัดระบบงานที่ดี การดำเนินงานส่วนใหญ่เป็นการดำเนินงานเชิงรับ ขาดการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านความไม่ปลอดภัยอาหาร

4. จุดแข็ง – จุดอ่อน ของการดำเนินงาน 4. จุดแข็ง – จุดอ่อน ของการดำเนินงาน กระแสการตื่นตัวในเรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร มีพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 รองรับการดำเนินงาน การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร มีอยู่ในตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการของจังหวัด จังหวัดให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน โครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย และโครงการตลาดสดน่าซื้อ มีภาคีเครือข่ายชมรมผู้ประกอบการค้าอาหาร, ชมรมผู้ประกอบการ/เจ้าของตลาด และชมรมผู้ขายของในตลาด

จุดอ่อน ไม่มีการเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารอย่างเป็นระบบ การดำเนินงานส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะกรณี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความสำคัญในด้านการจัดเก็บรายได้จากสถานประกอบการมากกว่าการพัฒนามาตรฐานสถานประกอบการ การเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในเก็บตัวอย่างและการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ