งบประม าณ เงินทุน หมุนเวียนฯ งบบุคลากร ล้านบาท งบดำเนินงาน ล้านบาท ล้านบาท งบบุคลากร 4. 8 ล้านบาท งบดำเนินงาน 619 ล้านบาท ล้านบาท
“ แผนงานสนับสนุน การพัฒนา ระบบ สุขภาพ งาน มาตรฐาน คุณภาพบริการและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ”
ไตรมาส 1: 3.3 ล้านบาท ไตรมาส 4: 1.15 ล้านบาท ไตรมาส 3: 2.2 ล้านบาท ไตรมาส 2: 4.5 ล้านบาท
กำกับดูแล ตรวจสอบสถาน ประกอบการ และ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ สุขภาพ เพื่อการคุ้มครอง ผู้บริโภคและสนับสนุนการ ส่งออก 7.74 ล้านบาท = 69.41% งบทั้งหมด
ไตรมาส 1 : 3.1 ล้านบาท ไตรมาส 4: 0.84 ล้านบาท ไตรมาส 3: 1.5 ล้านบาท ไตรมาส 2: 2.3 ล้านบาท
ของกลาง : 4.1 ล้านบาท กฎหมาย : 0.8 ล้านบาท การ อนุญาต : 0.9 ล้าน บาท ตรวจสอบเฝ้า ระวัง : 1.94 ล้านบาท
พิจารณาการอนุญาตเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ จำนวน 2,880 ฉบับ
1.2.1 ตรวจสอบคุณภาพวัตถุเสพ ติด 500 ตัวอย่าง ( ตส.1=70 ตัวอย่าง ) ตรวจสอบเฝ้าระวังสถาน ประกอบการ 250 ราย ตรวจสอบข้อมูลรายงานเพื่อติดตาม การกระจาย ยส./ วจ. 24,000 ราย ตรวจสอบโฆษณา 100 เรื่อง
1.2.3 ติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง จากการใช้วัตถุเสพติด ในทางที่ผิด จำนวน 6 เรื่อง ได้แก่ Alprazolam, Diazepam,Lorazepam, Codeine, Dormicum, Ketamine
1.4.1 จัดทำปรับปรุง แก้ไข กฎหมายระเบียบต่างๆ จำนวน 25 เรื่อง เกี่ยวข้องกับ ยส. 16 เรื่อง / วจ.6 เรื่อง / สรห.3 เรื่อง โครงการทบทวนมาตรฐาน ทะเบียนตำรับ
รับถ่ายโอนภารกิจ การออกใบรับรอง กาเฟอีน จากกองควบคุมยา ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2546
พิจารณาการออกใบอนุญาต / หนังสือรับรอง เกี่ยวกับสารเคมี และสารตั้งต้น จำนวน 425 ฉบับ
เข้มงวดการควบคุมตัวยา และสารตั้งต้น
ควบคุมการนำเข้าทุกครั้ง ณ ด่าน 250 ครั้ง ควบคุมการใช้ ยส.4 ทางอุตสาหกรรม 300 ครั้ง ตรวจสถานที่ประกอบการ ที่ใช้สารตั้งต้น 400 ราย ( ครั้ง )
การเก็บรักษาและ ทำลายของกลาง
การเก็บรักษาของกลางยาเสพติด ให้โทษ 20,000 Kg. ตรวจรับยา เสพติดให้โทษของกลาง 400 ราย ( 10,000 kg.)
ทำลายยาเสพติดให้โทษของ กลาง 4 ครั้ง ธันวาคม : มีนาคม : มิถุนายน : กันยายน
3.3 ล้านบาท = 29.86% งบทั้งหมด พัฒนาองค์ความรู้ เทค โนโลยี่ และส่งเสริม คุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน
ไตรมาส 1 : 0.5 ล้านบาท ไตรมาส 4: 0.3 ล้านบาท ไตรมาส 3: 1 ล้านบาท ไตรมาส 2: 1.5 ล้านบาท
(1) โครงการศึกษาผลกระทบใน การควบคุมพืชกระท่อมเป็น ยส.5 ( โครงการวิจัย ) (2) โครงการสัมมนาสัญจรเพื่อ ชี้แจงแนวทางบังคับ ใช้ กฎหมาย การป้องกัน และ แก้ปัญหาการใช้วัตถุเสพติด ในทางที่ผิด (4 ครั้ง / โครงการ )
(3) โครงการฝึกอบรมพนักงาน เจ้าหน้าที่ในการควบคุมโภค ภัณฑ์ สารตั้งต้น และสารเคมี (4) โครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลเฝ้า ระวังสารเสพติด (5) โครงการ พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่
0.08 ล้านบาท = 0.73% งบทั้งหมด ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยี
“ จัดทำคู่มือเอกสารสรุปความรู้ ด้านวัตถุเสพติด ” 1 เรื่อง
ภายใต้เงินนอกงบประมาณ 664,274 ล้านบาท รับผิดชอบ โดย กลุ่มบริหารวัตถุเสพติดที่ ใช้ในทางการแพทย์
บุคลากร : 4 ล้านบาท ค่าใช้สอย : 30 ล้านบาท ค่าซื้อยา : 630 ล้านบาท
ไตรมาส 1: 200 ล้านบาท ไตรมาส 4: 69 ล้านบาท ไตรมาส 3: 130 ล้านบาท ไตรมาส 2: 265 ล้านบาท
(1) จัดประชุมระดมสมอง ระเบียบการจำหน่ายวัตถุเสพ ติด ( 5 ครั้ง / โครงการ = 1 ล้าน บาท ) (2) วางแผนการจัดซื้อ / จัดจ้าง