แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
Graduate School Khon Kaen University
ผลสำเร็จการดำเนินการ การดำเนินการในระยะต่อไป
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
Integrity and Transparency Assessment Part 1 การประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ภาค1)
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
Analyzing The Business Case
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
มาตรการการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ประชุมกำหนดแนวทางการประเมินผลดัชนีความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พ. ศ
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แผนคำของบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557

ที่มาของการประเมินความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ การประเมินมาตรฐานความโปร่งใสของหน่วยงานของรัฐ การประเมินความโปร่งใส ของกรมควบคุมโรค

ประโยชน์ที่จะได้รับจากการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity & Transparency Assessment) หน่วยงานภาครัฐ ยกระดับดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันของประเทศไทยและความเชื่อมั่นในการลงทุนของนักธุรกิจต่างประเทศให้สูงขึ้น ยกระดับภาพลักษณ์ของหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานทราบถึงระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน การประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสการเนินงาน (Integrity & Transparency Assessment) หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานมีข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานที่นำไปสู่การยกระดับคุณธรรมการดำเนินงานของหน่วยงาน สร้างวัฒนธรรม ค่านิยม คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ปลุกจิตสำนึกของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน ในการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงาน 3

เกณฑ์ประเมินมาตรฐานความโปร่งใสของสำนักงาน ก.พ. 1.1 มีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับความโปร่งใส กรม มิติที่ 1 ด้านนโยบาย/ผู้บริหาร และความพยายาม/ริเริ่ม ของหน่วยงาน ในการสร้างความโปร่งใส 1.2 บทบาทของผู้บริหารในการส่งเสริมเรื่องความโปร่งใสในองค์กร สำนัก/กอง 1.3 ความพยายาม/ริเริ่มของหน่วยงานในการสร้างความโปร่งใส กรม 2.1 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร กรม มาตรฐานความโปร่งใส 4 มิติ 13 ตัวชี้วัด มิติที่ 2 ด้านความเปิดเผย การมีระบบตรวจสอบภายในองค์กร และการมีส่วนร่วม 2.2 การมีมาตรฐานการให้บริการประชาชนและประกาศให้ทราบ สำนัก/กอง 2.3 การมีระบบตรวจสอบภายในที่ดำเนินการตรวจสอบมากกว่าเรื่อง เงิน/บัญชี กรม 2.4 การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองต่อสาธารณะ กรม 2.5 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติราชการ กรม 3.1 การลดการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กรม มิติที่ 3ด้านการใช้ดุลยพินิจ 3.2 การใช้ดุลยพินิจในการบริหารงานบุคคล กรม 3.3 การมีระบบบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใส กรม กรม 4.1 การมีหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบโดยตรงในการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียน สำนัก/กอง คือ ตัวชี้วัดระดับกรม มิติที่ 4 การมีระบบ/กลไกจัดการรับเรื่องร้องเรียน สำนัก/กอง 4.2 การมีระเบียบปฏิบัติในการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียน กรม คือ ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง

เกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสำนักงาน ป.ป.ช. 2

แนวทางการประเมินมาตรฐานความโปร่งใสและ แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557

นโยบายด้านความโปร่งใสในการปฏิบัติงานและการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ กรมควบคุมโรค

แนวทางการดำเนินการประเมินมาตรฐานความโปร่งใสของสำนักงาน ก.พ. กิจกรรม สำนักงาน ก.พ. ส่วนราชการ คณะทำงานจัดทำมาตรฐานความโปร่งใส หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก ทุกหน่วยงานในสังกัด คณะกรรมการประเมินผลการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใส 1. แจ้งแนวทางการประเมินมาตรฐานความโปร่งใส 4 มิติหลัก 13 ตัวชี้วัดย่อย เพื่อใช้เป็นตัวชี้วัดความโปร่งใสของทุกส่วนราชการ 2. แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของส่วนราชการ 3. กำหนดแนวทาง และดำเนินการตามแนวทางการประเมินมาตรฐานความโปร่งใสของสำนักงาน ก.พ. พร้อมทั้งเสนอรายชื่อคณะกรรมการประเมินผลการจัดทำมาตรความโปร่งใสของส่วนราชการ 4.1 ประเมินพร้อมรวบรวมหลักฐานตัวชี้วัดระดับกรม จำนวน 10 ตัวชี้วัด 4.2 ประเมินพร้อมรวบรวมหลักฐานตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง จำนวน 3 ตัวชี้วัด 5. สรุปผลการประเมินมาตรฐานความโปร่งใส 6. พิจารณารับรองผลการประเมินผลการประเมินมาตรฐานความโปร่งใสของส่วนราชการ 7. ส่งผลการประเมินมาตรฐานความโปร่งใสให้สำนักงาน ก.พ. (ภายในเดือน มิ.ย.) 8. สำนักงาน ก.พ. มอบรางวัลส่วนราชการที่ดำเนินการประเมินมาตรฐานความโปร่งใส 1 2 3 4.1 4.2 5 เห็นควรปรับปรุง/แก้ไขเพิ่มเติม 6 เห็นชอบ 7

เครื่องมือวัดความโปร่งใส ตามแนวทางสำนักงาน ก.พ. ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง 37 หน่วยงาน

หน่วยงานที่รับผิดชอบในการตอบแบบประเมินฯ และรวบรวมเอกสารหลักฐาน ประเมินมาตรฐานความโปร่งใสของสำนักงาน ก.พ. มิติ ตัวชี้วัดย่อย หน่วยงานรับผิดชอบหลัก มิติที่ 1 ด้านนโยบาย/ผู้บริหาร และความพยายาม/ริเริ่ม ของหน่วยงานในการสร้างความโปร่งใส 1.1 มีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับความโปร่งใส - กองการเจ้าหน้าที่ 1.2 บทบาทของผู้บริหารในการส่งเสริมเรื่องความโปร่งใสในองค์กร - ทุกหน่วยงานในสังกัด กรมควบคุมโรค 1.3 ความพยายาม/ริเริ่มของหน่วยงานในการสร้างความโปร่งใส มิติที่ 2 ด้านความเปิดเผย การมีระบบตรวจสอบภายในองค์กร และการมีส่วนร่วม 2.1 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร - สำนักงานเลขานุการกรม 2.2 การมีมาตรฐานการให้บริการประชาชนและประกาศให้ทราบ 2.3 การมีระบบตรวจสอบภายในที่ดำเนินการตรวจสอบมากกว่าเรื่องเงิน/บัญชี - กลุ่มตรวจสอบภายใน 2.4 การเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองต่อสาธารณะ 2.5 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติราชการ - กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร มิติที่ 3 ด้านการใช้ดุลยพินิจ 3.1 การลดการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 3.2 การใช้ดุลยพินิจในการบริหารทรัพยากรบุคคล 3.3 การมีระบบบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใส - กองแผนงาน มิติที่ 4 ด้านการมีระบบ/กลไกจัดการรับเรื่องร้องเรียน 4.1 การมีหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบโดยตรงในการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียน - ทุกหน่วยงานในสังกัด กรมควบคุมโรค (ขอข้อมูลจาก สลก.) 4.2 การมีระเบียบปฏิบัติในการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียน

แนวทางการดำเนินการประเมินมาตรฐานความโปร่งใสของสำนักงาน ป.ป.ช. กิจกรรม สำนักงาน ป.ป.ช. ส่วนราชการ บุคลากรภายในส่วนราชการ (ตามจำนวนที่กำหนด) ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของส่วนราชการ 1. แจ้งแนวทางการประเมินการปฏิบัติตามระบบประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส พร้อมทั้งแบบประเมินสำหรับส่วนราชการ 2. จัดส่งรายชื่อรายชื่อบุคลากรภายในหน่วยงานผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตามที่กำหนด ให้สำนักงาน ป.ป.ช. 3. ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของส่วนราชการ และรวบรวมข้อมูลหลักฐานประกอบ ตามแบบประเมินเชิงประจักษ์สำหรับส่วนราชการ (Evidence Base) พร้อมแนบเอกสารหรือหลักฐานส่งให้สำนักงาน ป.ป.ช (ภายในเดือน มิ.ย.) 4. ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน และประมวลผลคะแนน จากแบบประเมินเชิงประจักษ์ของส่วนราชการ (Evidence Base) 5.1 ตอบแบบประเมินการรับรู้สำหรับเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน (Internal) 5.1 ให้สัมภาษณ์ตามแบบประเมินการรับรู้ (External) (โดยสุ่มจากรายชื่อที่ส่วนราชการส่งให้ และสุ่ม ณ สถานที่ตั้งขอส่วนราชการ) 6. ประมวลผลคะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสฯ จากแบบประเมิน ทั้ง 3 แบบ (Evidence Base, Internal , External) 7. จัดส่งผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสฯ พร้อมข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดำเนินงานของส่วนราชการ 8. ประกาศคะแนนผลการประเมินต่อสาธารณะผ่านเว็บไซด์ส่วนราชการที่รับการประเมินและสำนักงาน ป.ช.ช. 1 2 3 4 5.1 5.1 6 7 8

เครื่องมือประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสำนักงาน ป.ป.ช.

ประเมินโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence base Assessment

ประเมินโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence base Assessment ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสำนักงาน ป.ป.ช. IT ประเด็นคำถาม หน่วยงานรับผิดชอบหลัก IT 1 ในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมาหน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหาพัสดุอย่างไร - กองคลัง IT 2 ในปีงบประมาณที่ผ่านมาหน่วยงานของท่านมีการดำเนินงานเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลผลการจัดซื้อ จัดจ้างรายโครงการทั้งหมดให้สาธารณชนทราบบนเว็บไซต์หรือสื่ออื่นๆอย่างไร IT 3 หน่วยงานของท่านมีแนวทางการปฏิบัติงานในภารกิจตามที่กฎหมายกำหนดของหน่วยงานหรือไม่ - สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักจัดการความรู้ IT 4 หน่วยงานของท่านมีคู่มือกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานในภารกิจที่กฎหมายกำหนดของหน่วยงานหรือไม่ IT 5 หน่วยงานของท่านมีการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้บริการในภารกิจตามกฎหมายกำหนดเป็นมาตรฐานเดียวกัน โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ - ศูนย์สารสนเทศ - สำนักงานเลขานุการกรม IT 6 หน่วยงานของท่านมีการแสดงขั้นตอนการให้บริการในภารกิจตามที่กฎหมายกำหนด อัตราค่าบริการ(ถ้ามี)และเวลาที่ใช้ในการดำเนินการให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน หรือไม่ - สถาบันบำราศนราดูร - สถาบันราชประชาฯ IT 7 หน่วยงานของท่านมีการให้บริการในภารกิจตามที่กฎหมายกำหนดโดยจัดลำดับก่อน-หลังหรือไม่ IT 8 หน่วยงานของท่านมีระบบการป้องกันหรือการตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการให้บริการในภารกิจตามที่กฎหมายกำหนด หรือไม่

ประเมินโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence base Assessment ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสำนักงาน ป.ป.ช. IT ประเด็นคำถาม หน่วยงานรับผิดชอบหลัก IT 9 ผู้มีส่วนได้เสียได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการหรือการปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติราชการในภารกิจตามที่กฎหมายกำหนดของหน่วยงาน หรือไม่ กองแผนงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร IT 10 ผู้มีส่วนได้เสียได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงาน/โครงการหรือในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติราชการในภารกิจตามที่กฎหมายกำหนดของหน่วยงาน หรือไม่ IT 11 ผู้มีส่วนได้เสียได้เข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการตามโครงการหรือปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติราชการในภารกิจตามที่กฎหมายกำหนดของหน่วยงาน หรือไม่ IT 12 ผู้มีส่วนได้เสียได้เข้ามามีส่วนร่วมตรวจสอบติดตามประเมินผลโครงการหรือประเมินผลการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติราชการในภารกิจตามที่กฎหมายกำหนดของหน่วยงาน หรือไม่ IT 13 ผู้มีส่วนได้เสียได้เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาโครงการในภารกิจตามที่กฎหมายกำหนดของหน่วยงานอย่างต่อเนื่องเมื่อสิ้นสุดโครงการหรือไม่ - กองแผนงาน IT 14 หน่วยงานของท่านมีช่องทางสื่อสารต่อไปนี้ที่ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลตามภารกิจหลักของหน่วยงานหรือไม่ สำนักสื่อสารความเสี่ยฯ สำนักงานเลขานุการกรม

ประเมินโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence base Assessment ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสำนักงาน ป.ป.ช. IT ประเด็นคำถาม หน่วยงานรับผิดชอบหลัก IT 15 หน่วยงานของท่านมีขั้นตอน/กระบวนการสำหรับการแก้ปัญหาเรื่องร้องเรียนหรือไม่ - สำนักงานเลขานุการกรม IT 16 หน่วยงานของท่านมีการประกาศเผยแพร่ขั้นตอน กระบวนการในการร้องเรียนและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนหรือไม่ IT 17 หน่วยงานของท่านมีการกำหนดช่องทางร้องเรียนหรือไม่ IT 18 หน่วยงานของท่านมีการกำหนดหน่วยงานหรือผู้รับผิดชอบเรื่องร้องเรียนจัดซื้อจัดจ้าง หรือไม่ IT 19 หน่วยงานของท่านมีการรายงานผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียนให้ผู้ร้องเรียนทราบหรือไม่ IT 20 หน่วยงานของท่านในกรณีที่มีมาตรการที่ต้องดำเนินการก่อนการรับเรื่องร้องเรียนต้องมีการแจ้งรับเรื่องร้องเรียนภายในกำหนดเวลา ๑๕ วันหรือไม่ IT 21 หน่วยงานของท่านมีการรายงานผลการดำเนินการหรือความก้าวหน้าในการดำเนินการเรื่องร้องเรียนหรือไม่ IT 22 หน่วยงานของท่านมีรายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียนในรอบเดือน หรือไม่

ประเมินโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence base Assessment ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสำนักงาน ป.ป.ช. IT ประเด็นคำถาม หน่วยงานรับผิดชอบหลัก IT 23 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน หรือไม่ - กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม IT 24 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นอย่างไร IT 25 หน่วยงานของท่านมีการรวมกลุ่มของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานเพื่อการบริหารงานที่โปร่งใส IT 26 การถูกชี้มูลความผิดของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน(สำนักงาน ป.ป.ช. จะเป็นผู้จัดเก็บข้อมูลเรื่องร้องเรียนที่ถูกชี้มูลความผิดในรอบปีที่ผ่านมาของสำนักงาน ป.ป.ช. และสำนักงาน ป.ป.ท.) -

ประเมินจากมุมมองของการรับรู้ (perception) ของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภายในองค์กร (Internal Integrity Assessment)

ประเมินจากมุมมองของการรับรู้ (perception) ของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภายในองค์กร (Internal Integrity Assessment)

การประเมินจากมุมมองของการรับรู้ (perception) ของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภายในองค์กร (Internal Integrity Assessment) (ต่อ)

ประเมินจากมุมมองของการรับรู้ (perception)/ ความคิดเห็นของประชาชนและเจ้าหน้าที่รัฐหน่วยงานอื่นองค์กร (External Integrity Assessment)

ประเมินจากมุมมองของการรับรู้ (perception)/ความคิดเห็นของประชาชนและเจ้าหน้าที่รัฐหน่วยงานอื่นองค์กร (External Integrity Assessment)

ประเมินจากมุมมองของการรับรู้ (perception)/ความคิดเห็นของประชาชนและเจ้าหน้าที่รัฐหน่วยงานอื่นองค์กร (External Integrity Assessment) (ต่อ)

ผลการประเมินมาตรฐานความโปร่งใสของสำนักงาน ก.พ. ปี 2554 ปี 2553

ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของสำนักงาน ป.ป.ช. ปี 2557

END