โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี 2554-5.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ระบบการส่งต่อและเชื่อมโยง ให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
ชุมนุม YC.
ชุมนุม YC.
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 3.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
มาตรฐานการควบคุมภายใน
นโยบายด้านบริหาร.
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
บทเรียนที่งอกงามในการทำงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ของพี่น้อง ภาคีกพอ. ภาคเหนือ 25 ปี เบญจเพศ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี 2554-5 น้องเลี้ยง สุธาสินี สุโขวัฒนกิจ หน่วยงาน สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ความเป็นมา ปัญหาเอดส์ส่งผลกระทบต่อเด็กที่พ่อแม่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ โดยเฉพาะเรื่องการถูกสังคมรังเกียจ แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานทุกภาคส่วนได้พยายามสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชน แต่ปัญหาดังกล่าว เป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน และมีเงื่อนไขปัจจัยทางสังคมเข้ามาเกี่ยวข้อง แผนยุทธศาสตร์บูรณาการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.2550-2554 ในเรื่องยุทธศาสตร์ที่ 2 การบูรณาการป้องกัน ดูแลรักษา และลดผลกระทบตามกลุ่มประชากรเป้าหมาย

การเผชิญปัญหาของเด็กที่ต้องต่อสู้กับปัญหาภายในจิตใจของตนเองและปัญหาจากสังคมภายนอก ในการตีตรา รังเกียจ แบ่งแยก และกีดกันจากสังคม ซึ่งจากงานวิจัยในประเทศไทยพบว่ามีเด็กถูกทอดทิ้ง ไม่ได้รับการดูแล รวมถึง สังคมไม่ยอมรับครอบครัวเด็กที่ติดเชื้อ ทำให้ยังมีการปกปิดสถานภาพการติดเชื้อในครอบครัว สังคม และชุมชนอยู่ แม้ว่าหน่วยงานต่าง ๆ จะได้ให้การช่วยเหลือแล้วก็ตาม แต่ก็ยังพบว่าผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ส่วนใหญ่ยังไม่กล้าเปิดเผยตัวกับครอบครัว ชุมชน และสังคม ทำให้ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์อยู่ร่วมกับครอบครัวได้ยากลำบากและไม่เป็นปกติสุข ไม่สามารถเข้าถึงบริการการดูแลรักษาและส่งเสริมสุขภาพได้ดีเท่าที่ควร ขาดโอกาสความเท่าเทียมกันในสังคม และสิทธิประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ที่ควรจะได้รับ

การหารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่พ่อแม่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการลดปัญหาผลกระทบในครอบครัว สังคม ชุมชนได้ โดยเฉพาะการเผชิญปัญหาของเด็กที่ถูกตีตรา/รังเกียจ กีดกันจากสังคมที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจ กับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม ซึ่งส่งผลต่อการปลูกฝังพฤติกรรมที่ก้าวร้าว อาชญากรรม และความรุนแรงได้ ส่งผลต่อการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดี และเพื่อให้เด็กสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

วัตถุประสงค์ ประเมินคุณภาพชีวิต จิตใจของเด็กระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาที่มีพ่อแม่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ หารูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานในการลดผลกระทบในกลุ่มเด็กที่ถูกตีตรา/รังเกียจจากครอบครัว สังคม และชุมชน

วิธีการศึกษา รูปแบบการศึกษา -- การสัมภาษณ์เชิงลึก รูปแบบการศึกษา -- การสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรกลุ่มเป้าหมาย -- แบ่งออก 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มผู้บริหาร อาจารย์ และบุคลากรในสถานศึกษาหรือโรงเรียน 2. กลุ่มประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย และ 3. เด็กที่พ่อแม่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในพื้นที่โรงเรียนเป้าหมาย เพื่อประเมินยุทธศาสตร์การลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจในโรงเรียนหรือสถานศึกษา

วิธีการดำเนินงาน สุ่มเลือกพื้นที่โรงเรียนเป้าหมาย ทำการสัมภาษณ์เชิงลึกในกลุ่มผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และเด็กที่พ่อแม่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ ในสถานศึกษา 5 แห่ง ลงพื้นที่ประเมินในโรงเรียนเป้าหมาย 5 แห่ง เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ รายงานสรุปผลการดำเนินงาน พร้อมข้อเสนอแนะทางวิชาการและนโยบาย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้ทราบคุณภาพชีวิต จิตใจของเด็กระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาที่มีพ่อแม่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ ได้ทราบปัญหาทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่พ่อแม่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ ได้รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานในการลดผลกระทบในกลุ่มเด็กที่ถูกตีตรา/รังเกียจจากครอบครัว สังคม และชุมชน

ระยะเวลาที่ศึกษา ปีงบประมาณ 2554-5