การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง ในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สุวลีรัตน์ เพชรล้อม กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย

ค่ากลาง คือ อะไร

ค่ากลาง NORM ชื่อเต็ม : ค่ากลางที่คาดหวังของแผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข ความหมาย : งานใดๆ ที่ถือปฏิบัติกันอยู่เป็นปกติทั่วไปในพื้นที่ต่างๆ เป็นงานที่พื้นที่ส่วนใหญ่(ระดับกลาง) ได้ทำแล้ว ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ (ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ)

จากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ พบว่า “แผนงาน/โครงการที่ดีประกอบด้วย 5 มิติและในแต่ละมิติประกอบด้วย 7 กิจกรรม” กิจกรรม มิติ งาน 1 งาน 2 งาน 3-5 หาค่ากลางของงานใน 7 กิจกรรม เพื่อยกระดับแผนงาน/โครงการ (บรรจุลงในตาราง 11 ช่อง) สร้างนวัตกรรม

ความถี่สูงสุดของงานที่พบจากการสำรวจ การกำหนดค่ากลางของแผนงาน/ โครงการ ความถี่สูงสุดของงานที่พบจากการสำรวจ 100% กำหนดให้งานที่มีความถี่ไม่น้อยกว่า 65 % ของความถี่สูงสุดเป็นค่ากลางของโครงการ ได้แก่งานที่ 6 7 8 9 65 งาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 การสำรวจใช้แบบสอบถาม แบบเปิด วิเคราะห์ แยกชนิดงานที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่สำรวจ เรียงลำดับความถี่ของงานที่มีการปฏิบัติจากน้อยไปหามาก

ข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลาง งานที่อยู่เหนือเส้น 65% (เส้นค่ากลาง) ต้องมีไม่น้อยกว่า 3 งาน (ประมาณ3-5) งานเหล่านี้มีโอกาสถูกกำหนดให้เป็นค่ากลาง งานที่กำหนดให้เป็นค่ากลางต้องมีอย่างน้อย 1 งานที่เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) แต่ถ้ามีมากก็ยิ่งดี งานที่ไม่ให้ KPI ที่มีอยู่แล้ว ควรละเว้นไม่กำหนดให้เป็นค่ากลางในอนาคต

ข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลาง พิจารณางานที่ต่ำกว่าเส้นค่ากลางเพื่อยกระดับให้อยู่เหนือเส้น โดยเฉพาะงานที่ให้ KPI และงานที่สอดคล้องกับขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรม บันทึกข้อมูลการตัดสินใจไว้เพื่อตรวจสอบภายหลังเมื่อมีการประเมินผล

ข้อตกลงร่วมผลงานการสร้างและค้นหาค่ากลาง โดยความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ในอำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ ๒๕ – ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕

ค่ากลางที่ ๑ การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์/การจัดทำค่ากลาง ทุกตำบลจะต้องดำเนินงาน ๕ งาน ดังนี้ อสม. คปสอ. คณะกรรมการกองทุน รับการอบรมเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ จัดเวทีเพื่อทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และประกาศใช้ร่วมกันในภาคี

ค่ากลางที่ ๑ การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์/การจัดทำค่ากลาง ๓. วางแผนในการดำเนินงานร่วมกับ อสม./อบต./เทศบาล ๔. จัดเวทีประชาคมเพื่อทราบปัญหาในพื้นที่ ๕. จัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมกับผู้ดำเนินงาน

ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ทุกตำบลจะต้องดำเนินงาน ๔ งาน ดังนี้ อบรมให้ความรู้ อสม.แกนนำอย่างต่อเนื่อง/ แบ่งเขตรับผิดชอบ/พัฒนาศักยภาพทักษะ การคัดกรองแกนนำสุขภาพ/ในกลุ่มเสี่ยง ให้อสม.ให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 12

ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ๒. เจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่กลุ่มเป้าหมายที่ เสี่ยง/ป่วย (ความหมายนี้เจ้าหน้าที่ต้อง สามารถเป็นผู้ให้คำปรึกษาถึงระดับ counseling ได้)

ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ๓. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคแนะนำปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ( การรับประทานอาหาร/ ออกกำลังกาย/อารมณ์/สุรา/สารเสพติด) เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพโดยทีม care giver จัดกิจกรรมเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่ม เสี่ยง (BMI เกิน) โดยหลักสูตร * DPAC *ศูนย์ให้คำปรึกษา (HCC : Health Care Center) 14

ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ๔. ตรวจคัดกรองความเสี่ยงแยกกลุ่มสี่ยง/ จัดทำทะเบียนคัดกรอง /คัดกรองในชุมชน โดย อสม. และเจ้าหน้าที่ 15

ค่ากลางที่ ๓ มาตรการทางสังคม ทุกตำบลจะต้องดำเนินการ ๖ งาน ดังนี้ ๑. ประชาชนมีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อย สัปดาห์ละ ๓ ครั้งๆ ละ ๓๐ นาที ๒. ชมรมแต่ละชมรม/สมาชิกชมรม/ประชาชน มีกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ๓. หมู่บ้านต้นแบบ เช่น มีกิจกรรมการทำอาหาร ลดกะทิ ของหวาน มัน เค็มโดยกลุ่มแม่บ้าน เมนูชูสุขภาพ

ค่ากลางที่ ๓ มาตรการทางสังคม ๔. บุคคลต้นแบบ เช่น จนท. อสม. แกนนำสุขภาพ ผู้นำชุมชน ๕. งดการเลี้ยงสุรา เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น งานบุญ งานบวช งานศพ ๖. มีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่เหมาะสม กับวัย

ค่ากลางที่ ๔ การจัดทำแผนงาน โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล ทุกตำบลจะต้องดำเนินการ ๔ งาน ดังนี้ ๑. การสร้างภาคีเครือค่าย อปท. อสม. โรงเรียน ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข วัด (มีเวทีทบทวนและปรับแผนร่วมกันของ ภาคีเครือข่ายโดยใช้ SRM /แผนสุขภาพ ตำบล)

ค่ากลางที่ ๔ การจัดทำแผนงาน โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล ๒. บรรจุแผนงานเรื่องเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง ลงในแผนของ อปท.(แผน 3 ปี, แผน 5 ปี) ๓. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อของบจากกองทุน สปสช. ๔. ประเมินผลงานและติดตามผลการดำเนินงาน ตามโครงการ

ค่ากลางที่ ๕ การจัดการกลุ่มเป้าหมาย/และสภาพแวดล้อม ทุกตำบลจะต้องดำเนินงาน ๕ งาน ดังนี้ ๑. ติดตาม /เฝ้าระวัง /ฟื้นฟู กลุ่มเป้าหมาย ๒. การจัดสถานที่/ลานออกกำลังกาย สาธารณะในแต่ละตำบลอย่างน้อย ๑ แห่ง/ตำบล

ค่ากลางที่ ๕ การจัดการกลุ่มเป้าหมาย/และสภาพแวดล้อม ๓. จัดอบรม อสม แกนนำสุขภาพ ๔. ส่งเสริมการปลูกผักในครัวเรือนปลอดสารพิษ และรับประทานเอง ๕. ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพ

ค่ากลางที่ ๖ การสื่อสารและสารสนเทศ ค่ากลางที่ ๖ การสื่อสารและสารสนเทศ ทุกตำบลจะต้องดำเนินงาน ๕ งาน ดังนี้ สื่อบุคคล @ ทีมเยี่ยมบ้านสหวิชาชีพ @ ปากต่อปาก ๒. เพื่อนช่วยเพื่อน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ค่ากลางที่ ๖ การสื่อสารและสารสนเทศ ค่ากลางที่ ๖ การสื่อสารและสารสนเทศ ๓. สื่อสาธารณะ เช่น หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน สปอร์ตโฆษณา ๔. สื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เช่น บอร์ด ป้าย แผ่นพับ วงล้อสุขภาพ ฯลฯ

สัญญาไว้........ เราจะร่วมมือกัน สัญญาไว้........ เราจะร่วมมือกัน ให้ประชาชนทุกคน มีสุขภาพดี ลด ละ เลิกพฤติกรรมเสี่ยง ปลอดภัยจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง .............ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หัวใจของความสำเร็จ ในการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยการใช้ค่ากลาง อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

บทบาทของ 5 องค์กรระดับท้องถิ่น / ตำบล ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชน บทบาทของ 5 องค์กรระดับท้องถิ่น / ตำบล ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชน อปท รพสต อสม ผู้นำชุมชน กองทุนฯตำบล

สวัสดี

กระบวนการปรับทิศทางของโครงการสุขภาพด้วยตนเอง