ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
Advertisements

การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ สคร.๖ จ.ขอนแก่น

ที่มาของการดำเนินโครงการ ปี ๒๕๕๓ ที่มาของการดำเนินโครงการ ปี ๒๕๕๓ การได้รับนโยบายการพัฒนาและสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ของกรม ควบคุมโรค ที่จังหวัดเชียงใหม่ (๒๕๕๑) ได้รับแรงบันดาลใจ จากแนวคิด/ความเชื่อมั่น ของ อาจารย์อมร นนทสุต สคร. 5 6 7 ได้รับงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเครือข่าย (สสจ. อปท.) ในการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ระดับเขต ( ๑๕-๑๗ ธ.ค๕๑) (SRM SLM) สคร.๖ ได้ผลักดันต่อ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดของกลุ่มงาน ให้มีการถ่ายทอดสู่ บุคลากรในกลุ่มงาน และมีจัดทำตาราง ๑๑ ช่อง ทำ Mini SLM ทุกกลุ่มงานๆละ ๑ โรค โดยขั้นตอนที่ ๕ ให้มีการนำแผนที่ฯ ไปใช้ในการวางแผนการจัดทำ แผนงาน/โครงการ ปี ๒๕๕๒

๕. ทดลองรูปแบบการใช้แผนที่ฯในการป้องกันโรคติดต่อของศูนย์เด็กเล็กใน อปท ๕.ทดลองรูปแบบการใช้แผนที่ฯในการป้องกันโรคติดต่อของศูนย์เด็กเล็กใน อปท. ๒ แห่ง คือ ต. หนองกุง จ. มหาสารคามและ ต.ด่านช้าง จ.หนองบัวลำภู ๖.ได้รับเลือกให้ร่วมดำเนินการจัดทำ SLM ๒ กรม ที่ สะเมิงรีสอร์ท( ๑-๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ และพัฒนาในพื้นที่ต้นแบบที่อบต.บัวเงิน อ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น) สิ่งที่อยากให้เกิด เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในหน่วยงานและเครือข่ายในการสร้างและใช้แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แก่เครือข่ายใน การบริหารจัดการงานป้องกันควบคุมโรคอย่างน้อย จังหวัดละ ๑ แห่ง

ค. กิจกรรมที่ทำ ค. กิจกรรมที่ทำ ขั้นการเตรียมการ - แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาจากทุกกลุ่มฝ่าย - ประชุมวางแผนการดำเนินงาน/รับแนวนโยบาย/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกับกรมควบคุมโรคทางวีดีโอฯ - จัดประชุมประสานแผนกับจังหวัดและเครือข่ายวิชาการเพื่อหาแนวทาง ในการดำเนินงานร่วมกัน

ขั้นการพัฒนา ค. กิจกรรมที่ทำ - อบรมฟื้นฟูบุคลากร สคร. และเครือข่าย ครู ก ระดับจังหวัด(งานสช. งาน แผน งานส่งเสริม งานกองทุน งานคร.)และเครือข่ายกรมอนามัย กรม สบส. พร้อมบูรณาการแผนงาน/งบ ร่วมกัน ๑-๓ ธ.ค. ๕๒ ถ่ายระดับแผนที่ฯจากกรม/สำนัก สู่เขต/กลุ่มโรค สนับสนุนเครือข่ายในการดำเนินการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ใน พื้นที่นำร่องของ สคร.และเครือข่าย(เงื่อนไขคือ ๑)มีกองทุน ๒)มีรพสต.๓) เป็นหมู่บ้านจัดการ ๓)เป็นพท.ศูนย์การเรียนรู้ ๔)ยินดี สนับสนุนด้านวิชาการที่เกี่ยวข้อง/ตอบสนอง Mini Slmและความต้องการ ของพื้นที่

ขั้นการประเมินผล ค. กิจกรรมที่ทำ - ร่วมประเมินกระบวนการ ติดตามผลการดำเนินงานตาม Mini SLM - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปบทเรียนการดำเนินงาน ประกวด ผลงานดีเด่น - สรุปเป็นเอกสาร

ผลที่เกิดขึ้นตามแผนปฏิบัติการ ได้แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานร่วมกัน (ในเวทีประสาน แผน ๙-๑๐ พ.ย.๒๕๕๒และการประชุมทาง VDO Con.) คณะทำงาน และภาคีเครือข่าย สสจ. ศูนย์อนามัยฯ ได้รับ การเครือข่ายมีความรู้ ทักษะได้รับการพัฒนาศักยภาพในการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (๑-๓ ธ.ค.๒๕๕๒) มีการใช้แผนที่ฯในการบริหารการเปลี่ยนแปลง พื้นที่มีการดำเนินการตามแผนฯ มีบทเรียนการดำเนินงานเพื่อการขยายผล

ความก้าวหน้า ความสำเร็จ ความภาคภูมิใจ ขั้นเตรียมการ สามารถดำเนินการได้ตามแผนทุกกิจกรรม ขั้นพัฒนา - อบรมฟื้นฟูวิทยา ครู ก เป็นไปตามแผน - การกำหนดพื้นที่และกำหนดการดำเนินงานที่ชัดเจน ได้ ๗ จังหวัด รอผลอีก ๑ จังหวัด ( เดือน กพ.-มี.ค) โดย สสจ. /สสอ.เป็นเจ้าภาพ คณะทำงาน สคร. และ ศอ. รับเป็นทีมดำเนินการ และหรือร่วม ดำเนินการ ใช้งบจากกองทุนตำบล สคร.ร่วมสนับสนุนแห่งละ ๑๐,๐๐๐ บาท

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ความเชื่อมโยงของนโยบายทุกระดับ สอดคล้อง ชัดเจน บูรณาการ แท้จริง การพัฒนาทักษะ ความรู้อย่างต่อเนื่อง การติดตามประเมินผลที่ต่อเนื่องจากกรมควบคุมโรค บุคลากรผู้รับผิดชอบมีใจอยากทำ มีกระบวนทัศน์ที่ดีต่อการพัฒนา มีพื้นที่ที่มีความพร้อมในการดำเนินการ (มีกองทุน กรรมการ แกนนำ เข้มแข็ง) ในระดับหนึ่ง

สิ่งที่ไม่ได้ดังใจ (สาเหตุ-วิธีแก้ไข) ความไม่ชัดเจนนโยบายการดำเนินงานในแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ ของ สสจ. ไม่มีเจ้าภาพเฉพาะ ส่วนใหญ่เป็นงาน ฝาก ขาดการบูรณาการกับกลุ่มงาน กรม กอง ทำให้เสียเวลา งบประมาณ ทีมงานขาดความเข้าใจ ให้ความสำคัญน้อย ขาดความ ต่อเนื่องในการดำเนินการ

สิ่งที่ได้โดยไม่คาดหวัง (อะไร-สาเหตุ) ได้เครือข่ายการทำงานระดับเขต และจังหวัด จากเวทีการอบรมฟื้นฟู (เกิดการบูรณาการ ทำงาน ทั้งพื้นที่ งบประมาณ)

ความรู้ ทักษะ ข้อเสนอแนะ ความรู้ทักษะ ได้รับการพัฒนากระบวนทัศน์ ทักษะแนวทางการทำงานใหม่ ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนา อปท. ควรมีส่วนร่วมและแสดงบทบาทมากขึ้น (มีความเข้าใจการสร้าง/ ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ โดยการสนับสนุนของภาครัฐที่เกี่ยวข้อง) กรมควบคุมโรค. กรมอนามัย สปสช. และ สช. ควรประสานและผลักดัน แผนการดำเนินร่วมกันอย่างเข้มข้น มีการผลักดันเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง อย่างจริงจัง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ กรรมการ ภาคประชาชน ในการตรวจสอบ ประเมินการดำเนินงานของ อปท.

ขอบคุณค่ะ