Mae Sai Hospital.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงพยาบาลเขื่องใน เป็นโรงพยาบาลชุมชนระดับทุติยภูมิ
Advertisements

NAVY WATER BED 2012.
กบในกะลา 2011.
อายุเฉลี่ยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของนักเรียนอาชีวศึกษาชั้น ปวช
ประเด็นสำคัญ เป็นโรคที่พบตั้งแต่แรกเกิด ต้องการการดูแลต่อเนื่องระยะยาว
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
5..** หญิง 23 ปี ไปถางวัชพืชในไร่ โดนเสี้ยนตำที่มือขวา ดึงเองไม่ออก มาให้บ่งเสี้ยนออกจึงใช้เข็มบ่งเสี้ยนออกแล้วทำแผลให้ยาแก้ปวด S60.83 W60.72//w45.72.
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
2. กิจกรรมการสร้างกระแสของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การจัดการความรู้ทางการแพทย์ ในโรงพยาบาลราชวิถี
ตรวจสอบสิทธิด้วยตนเองผ่าน KIOSK
“ หมวกอุ่นเกล้า ผ้าห่มอุ่นกาย”
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.เรืองโรจน์สระบุรี
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบปรับอากาศ.
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันในระบบ Stroke Fast track เครือข่ายบริการโรงพยาบาลสกลนคร ประภัสสร สมศรี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ,
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
จำนวนผู้มารับบริการฝากครรภ์
การสื่อสารยุทธศาสตร์ปี 2558
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปผลงานข้อมูลคุณภาพ
สูงวัยไม่ปวดเรื้อรัง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กันยายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กรกฎาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน มกราคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพคณะกรรมการสารสนเทศ 14 ตุลาคม 2554.
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
นวัตกรรมราวผ่อนแรง PARKKRED HOSPITAL.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน ธันวาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การล้างมือ (hand washing)
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน ตุลาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน พฤศจิกายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน พฤษภาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
หนี้ของ สมาชิก ทั้งหมด หนี้ของสมาชิกทุก สัญญารวมกันไม่เกิน หนึ่งแสน สำรวจครั้ง แรก ก่อน 30 สิงหาคม 2551 สำรวจเพิ่มเติมถึง วันที่ 30 กันยาน 2551 ( ไม่เกิน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน สิงหาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน เมษายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กุมภาพันธ์ 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
Maesai Hospital GREE N. บริบทของพื้นที่และ ผู้รับบริการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Mae Sai Hospital

การพัฒนางานเพื่อลดการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บในมารดาคลอดที่ตัดแผลฝีเย็บ

ความสำคัญและความเป็นมา อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปีพศ. 2552 อันเนื่องมาจากได้มีการปรับนิยามการเฝ้าระวังการติดเชื้อให้เป็นบริบทของโรงพยาบาล เช่นการตรวจพิเศษต่างๆ จึงพบว่ามีการดักจับได้มากขึ้น อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลปีงบประมาณ2551-2554

การติดเชื้อในโรงพยาบาล จำแนกตามตำแหน่งติดเชื้อ ประจำปีงบประมาณ 2551-2553 โดยตำแหน่งการติดเชื้อที่สำคัญและต้องมีการดำเนินการแก้ไขตั้งแต่ปี 2551-2553 ได้แก่ CAUTI, แผล Episiotomy และ SSI โดยดำเนินการพัฒนาคุณภาพดังนี้

แก้ปัญหาอย่างไร ให้ตรงจุด และรวดเร็ว ?

ทบทวนข้อมูลปัจจัยที่อาจเกิดแผลฝีเย็บติดเชื้อ ปี 2550-2553 มารดา poor hygiene สื่อสารไม่เข้าใจ มารดา poor hygiene แผลบวมมี Hematoma ห้องคลอดผู้คลอดล้น มารดา poor hygiene แผลลึก สื่อสารไม่เข้าใจ ล้างทำความสะอาดไม่ถูกต้อง HCW ทำงาน<1ปี มารดา poor hygiene แผล Trauma รุนแรง

กิจกรรมการพัฒนา ระยะที่ 1: การแก้ไขปัญหาส่วนของเทคนิคการทำคลอดและเย็บแผล ระยะที่ 2: การแก้ไขปัญหาการติดเชื้อใช้ RCA และติดตามการติดเชื้อแผลฝีเย็บใช้ระบบของแผนภูมิควบคุม (control chart)

ระยะที่ 1 ดำเนินการในช่วงเดือนมกราคม – เมษายน 2554 กลุ่มเป้าหมายคือบุคลากรพยาบาลในงานห้องคลอดและงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน อบรมสาธิตการทำคลอดและเทคนิคการเย็บแผลฝีเย็บโดยสูตินารีแพทย์ ประเมินการปฏิบัติโดยการสาธิตย้อนกลับการทำคลอดและเย็บแผลฝีเย็บ

ระยะที่ 2 เฝ้าระวังการติดเชื้อ และติดตาม control chart มีการดำเนินการเมื่ออัตราการติดเชื้อใกล้ค่าเฉลี่ย วิธีการแก้ไขปัญหา ดำเนินการตามการวิเคราะห์ RCA

ระยะที่ 2: การดำเนินการ RCA ผู้คลอดมีจำนวนมาก ห้องคลอดมีเตียงแทรก มารดา poor hygine ทำความสะอาดครั้งใหญ่ ห้องคลอด (7 พค.54)

ระยะที่ 2: การดำเนินการ ทำความสะอาดครั้งใหญ่ ตึกหลังคลอด (6 สค. 54) RCA มารดาแผลแยกเป็นมารดานอนเฝ้าบุตรป่วย ผู้คลอดมีจำนวนมาก ห้องหลังคลอดมีเตียงแทรก ตรวจสภาพของหลังคลอดแออัดมาก และชื้น

ระยะที่ 2: การดำเนินการ RCA มารดา poor hygine มารดาไม่อาบน้ำ ล้างแผลฝีเย็บไม่ถูกต้อง กำหนดจัดชุดหลังคลอดให้มี 4%chlorhexedine ในการทำความสะอาดแผลฝีเย็บ (กพ.55)

ผลการเปลี่ยนแปลง

บทเรียนที่ได้รับ การใช้ control chart ร่วมกับ RCA ส่งผลต่ออัตราการติดเชื้อตำแหน่งแผลฝีเย็บลดลง การแก้ไขปัญหาทีตรงจุด และรวดเร็ว สามารถลดอัตราการติดเชื้อในตำแหน่งแผลฝีเย็บได้ผลดี

ระบบที่ได้รับการพัฒนา ด้านบุคลากร บุคลากรพยาบาลจะต้องได้รับการฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการทำคลอดและการดูแลแผลฝีเย็บอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ในบุคลากรพยาบาลปฏิบัติงานใหม่ต้องได้รับการอบรมสาธิตการทำคลอดและการเย็บแผลฝีเย็บ ผ่านการประเมินโดยพยาบาลชำนาญการของงาน ห้องคลอด

ระบบที่ได้รับการพัฒนา(ต่อ) ด้านสิ่งแวดล้อม การทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมต้องทำความสะอาดทุกวัน โดยเฉพาะบริเวณห้องรอคลอด และห้องทำคลอด หากมีผู้คลอดจำนวนมากต้องเคร่งครัดในการจัดการสิ่งแวดล้อมให้มากกว่าปกติ ต้องมีการเฝ้าระวังการติดเชื้อหลังคลอดอย่างเข้มงวดในช่วงที่พบว่าผู้คลอดมีจำนวนมาก ควรมีการทำ Big cleaning อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ระบบที่ได้รับการพัฒนา(ต่อ) ด้านผู้คลอด เมื่อแรกรับต้องมีการเปลี่ยนเสื้อผ้า ให้ผู้คลอดอาบน้ำทำความสะอาดตัวเองและต้องทำอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง หลังคลอดต้องมีการให้ความรู้แก่ผู้คลอดในด้านการปฏิบัติตัวทุกราย รวมทั้งกระตุ้นในเรื่องการทำความสะอาดร่างกายของมารดาหลังคลอด การทำความสะอาดแผลฝีเย็บ ให้ผู้คลอดทำความสะอาดด้วย 4% chlorhexedine อย่างน้อยว้นละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น

โอกาสพัฒนา ควรมีการศึกษาผลของการใช้ 4% chlorhexedine เปรียบเทียบกับวิธีการอื่นๆในการลดการติดเชื้อแผลฝีเย็บ ใช้ระบบ control chart ร่วมกับ RCA ในการลดการติดเชื้อในตำแหน่งอื่นๆ

Thank you