Hypo alemia นศ.ภ.มนสิชา บัวอ่อน รหัส มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบหนังสือเวียน กปภ.ข. 2 และ กปภ.สาขาในสังกัด
Advertisements

การใช้โปรแกรมทุนการศึกษา
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
Part I Part II Expansion Units 4-6 Created by Mrs.Sumnao Charoenpong.
COE โปรแกรมการจัดการตารางสอนสำหรับภาควิชา
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 31 พฤษภาคม 2552
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 กันยายน 2552
กองการเงินและบัญชี ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายควบคุมงบประมาณ กลุ่มงานบัญชี
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
รองอธิบดีด้านปราบปราม ร่วมประชุมนายด่านฯในสังกัด ศภ.4
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
สมาชิก น.ส. วนิดา ประจง เลขที่ 7 น.ส. ญาดา กาญจนา เลขที่ 11
จำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ ผลการทดสอบและคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา จัดทำโดย.
เรื่อง ผลการสอบ O - NET ผู้จัดทำ
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
สรุปผลการประชุมเชิงปฎิบัติ การ ตรวจสอบคุณภาพ การจัดการฐานข้อมูล 18 แฟ้ม วันที่ 30 มีนาคม 2552 ณ ห้องประชุม สสจ. น่าน.
ขั้นตอนการเสนอขออนุมัติโครงการ
คลังความรู้สำนักชลประทานที่ 17
โครงการอบรมการใช้โปรแกรม งานเด็กตกหล่นและออกกลางคัน สำหรับ 25 อำเภอกลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์ เพื่อการสำรวจและติดตามเด็กตกหล่นและออกกลางคัน เพื่อประโยชน์ในการช่วยเหลือให้เด็กทุกคนได้มีโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง.
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
9/21/2014 ยินดีต้อนรับ ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารระดับสูงเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะผู้บริหารระดับสูงเทคโนโลยีสารสนเทศ 26 สิงหาคม 2552 กรมสรรพากร CIO ส่วนกลาง.
โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่
นศ.ภ. จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
การดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2552
แม่อายุน้อยกว่า 20 ปี คลอดบุตร ของจังหวัดราชบุรี เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 10.
ขั้นตอน การตอบแบบสอบถาม เรื่อง
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
แผน - ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1-3/2552 (1 ตุลาคม 2551 – 31 พฤษภาคม 2552) สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน จังหวัดนครศรีธรรมราช.
แผน - ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1-3/2552 (1 ตุลาคม 2551 – 30 เมษายน 2552) สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน จังหวัดนครศรีธรรมราช.
หลักการแสกนเอกสารในซอง ส.ป.ก. 4-06
ปัญหาสุขภาพจิตและ ฆ่าตัวตายจังหวัดเชียงราย
ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2556 ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ วงเงิน งบประม าณ ผลการเบิกจ่าย เบิกจ่า ย คงเหลื
ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ. ศ ( ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ พ. ศ.2557 ถึงวันที่ 20 ธันวาคม 2556) โดยเปรียบเทียบกับปีที่แล้วในช่วงเวลาเดียวกัน.
Diabetic Ketoacidosis < DKA >
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การเปรียบเทียบทศนิยม และการใช้เครื่องหมาย  ,  ,  และ 
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลมหาสารคาม
การเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติราชการปี 2553
นางสาววีณา ชมภูโคตร คณะพลศึกษา เอกสุขศึกษา รหัส
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Pre NT
ทำการบันทึกเลขรหัสประจำแปลงที่ดิน
สาขาโรคมะเร็ง.
โดย นสภ. นภาลัย อมรเทพดำรง
ย้อนตำนานรักคลอง ดำเนิน ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓. วัน เวลา สถานที่จัดงาน วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2553 ณ ตลาดน้ำเหล่าตั๊กลั๊ก ( ปากคลองลัดพลี ) อ. ดำเนินสะดวก ระยะเวลาการดำเนินงาน.
นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล
1 ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง กําหนดมูลคาน้ำมันเตาที่ ผลิตในราชอาณาจักร เพื่อถือเป นเกณฑในการคํานวณภาษี ( ฉบับ ที่ 2/2553) ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การรายงานการรับนักเรียน ปี การศึกษา 2552 เข้าที่หน้าเว็บไซต์ URL: เพื่อดูรายละเอียด.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
การอบรมการใช้ยา HAD.
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
วันที่ ๒๔ -๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
การนำ Website ขึ้น Sever
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Hypo alemia นศ.ภ.มนสิชา บัวอ่อน รหัส 4710095 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นศ.ภ.มนสิชา บัวอ่อน รหัส 4710095 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Ambulatory Care ผลัดที่ 3/2552 19/06/52

Hypokalemia category Serum K (mEq/L) Normal 3.5-5.5 Mild 3-3.5 Moderate 2.5-3 Severe <2.5

Etilogy Poor dietary intake Excessive renal loss Excessive gastrointestinal loss: diarrhea, vomiting Hypomagnesemia: Na+-K+ ATPase pump impaired Drugs

Drug-Induced Hypokalemia 3 Mechanisms Intracellular potassium shifting Enhanced renal excretion Enhanced fecal elimination: sodium polystyrene sulfonate, phenolphthalein, sorbitol

Intracellular potassium shifting β2-Receptor agonists: epinephrine, salmeterol Theophylline Caffeine Insulin overdose

Enhanced renal excretion Diurtics: loop, thiazides High dose penicillins: penicillin, ampicillin Mineralocorticoids miscellaneous: aminoglycosides, amphotericin B, cisplatin

อาการและอาการแสดงของภาวะ hypokalemia ผลต่อระบบหัวใจ: ลดความสูงของ T wave, ความดันโลหิตต่ำ, PR prolong, QRS กว้างขึ้น, จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ ผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ: ลดการหลั่ง aldosterone ลดการหลั่ง insulin ผลต่อระบบประสาทและกล้ามเนื้อ: ไม่มี reflex, กล้ามเนื้ออ่อนแรงและปวด อาการอื่นๆ ได้แก่ อ่อนเพลีย, ง่วงซึม, สับสน

Treatment 3.5-4 mEq/L → 3-3.5 mEq/L → Nonpharmacologic therapy: dietary intake of K-rich foods 3-3.5 mEq/L → Nonpharmacologic/Pharmacologic therapy Underlying cardiac conditions that predispose them to cardiac arrhythmias Receiving concomitant digoxin therapy < 3 mEq/L should keep K 4-4.5 mEq/L

Pharmacologic therapy Oral potassium supplementation Intravenous potassium supplementation severe K depletion intolerant to oral supplementation

Calculation mEq = mg x valency/(Formula weight ) กรณีของ KCL 10% หมายถึง สารละลาย 100 mL มี K 10 g MW KCl = 39.1 + 35.4 = 74.5 K valency =1 จากสูตรคิดเป็น = 10 x 1000/74.5 = 134 mEq/100 mL ดังนั้น 15 mL มี K = (134 x 15)/100 = 20 mEq

10% KCl Elixer (20 mEq/15 ml) Ped KCl (2%) (4 mEq/15 ml) Product Bottle (60 ml) Increasedserum K (mEq/L) 10% KCl (20 mEq/15 ml) bid-qid 1 (80 mEq) 0.3-0.8 2 (160 mEq) 0.4-1.6 3 (240 mEq) 0.6-2.4

Every 1 mEq/L ↓K below 3.5 mEq/L = total body potassium deficit of 100-400 mEq ให้ 40-100 mEq of K → mild-moderate K deficits Doses up to 120 mEq of K → severe K deficits

Case 1 1001431 ผู้ป่วยได้รับ KCl 30 cc q 6 hr x2 doses มีความเหมาะสมหรือไม่ วันที่ 17/6/52 ผู้ป่วยมีค่า lab: serum K = 3.1 KCl ที่ผู้ป่วยได้รับคือ 10% KCl elixir (20 mEq/15 ml) ทั้งหมด 60 ml ซึ่งจะทำให้ระดับ serum K เพิ่มขึ้นอีก 0.3-0.8 mEq/ml ดังนั้นผู้ป่วยจะมี serum K เพิ่มขึ้นเป็น 3.4-3.9 mEq/ml ซึ่งก็ถือว่าเหมาะสม

Case 2 440589 ผู้ป่วยได้รับ KCl 30 cc qid x1 day วันนี้แพทย์ได้สั่งห้ามไม่ให้ผู้ป่วยรับประทาน HCTZ เนื่องจากผู้ป่วยเคยได้รับยาแล้วเกิด hypokalemia ซึ่งแพทย์ก็เคยสั่งให้หยุดยาแล้วแต่ผู้ป่วยไปรับ HCTZ จากสถานพยาบาลอื่น จึงมาด้วย hypokalemia ในครั้งนี้ PH: 7/4/52: ผู้ป่วยเริ่มรับประทาน HCTZ; serum K = 4.8 mEq/ml 19/5/52: serum K = 2.5 mEq/ml แพทย์สั่งหยุด HCTZ 17/6/52: serum K = 1.9 mEq/ml

Case 2 KCl ที่ผู้ป่วยได้รับคือ 10% KCl elixir (20 mEq/15 ml) ทั้งหมด 120 ml (160 mEq) ทำให้ระดับ serum K เพิ่มขึ้นอีก 0.4-1.6 mEq/ml ดังนั้นผู้ป่วยจะมี serum K เพิ่มขึ้นเป็น 2.3-3.5 mEq/ml ซึ่งก็ถือว่าเหมาะสม อย่างไรก็ตามควรมีการติดตามค่า serum K ของผู้ป่วยด้วย

Reference Joseph T. DiPiro, Robert L. Talbert, Gary C. Yee, Gary R. Matzke, Barbara G. Wells, L. Michael Posey. Pharmacotherapy A Pathophysiologic Approach. 7th ed. New York: McGraw-Hill; 2008. p.878-81.