บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ระบบสารสนเทศ.
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
Data Warehouse (คลังข้อมูล)
ระบบสารสนเทศ (ต่อ) (Information Systems : IS)
Chapter 1 : Introduction of System ข้อมูล และ สารสนเทศ
Information Systems in the Enterprise
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
Information System and Technology
Information System.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
ประเภทของระบบสารสนเทศ
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
แนะนำการวิเคราะห์และการออกแบบ
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
หลักระบบสารสนเทศ Principles of information systems
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
กระบวนวิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
Surachai Wachirahatthapong
การติดตาม และประเมินโครงการ.
The General Systems Theory
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
การเงิน.
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Information Technology
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 Planning.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
Transaction Processing Systems
(Transaction Processing Systems)
II > วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ฐานข้อมูล Data Base.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ(Information Systems)
Data analysis for the making a decision with Business Intelligence
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
System Analysis & Design การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ Introduction to System Analysis and Design

ระบบสารสนเทศ Information System

ระบบ (systems) กลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ที่สัมพันธ์กัน พึ่งพาอาศัยกัน และทำงานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เดียวกัน ระบบการทำงานของร่างกาย ระบบธุรกิจ

ระบบสารสนเทศ (Information Systems) ระบบที่มีการนำองค์ประกอบต่างๆ ของเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการรวบรวม ประมวลผล และจัดเก็บข้อมูล เพื่อสร้างสารสนเทศที่องค์กรต้องการ

ระบบสารสนเทศ (Information Systems) Feedback Processing Data Information

ระบบสารสนเทศ (Information Systems) Feedback Processing Input Output

Systems Subsystems Functional Decomposition

Example ระบบขายสินค้า System Boundary ระบบขายสินค้า Input / Output ระบบบัญชี ระบบนำเข้า ข้อมูลขาย ระบบคำนวณ ยอดขาย Input / Output ระบบจัดทำ เอกสาร ระบบจัดส่ง สินค้า ระบบจัดการ คลังสินค้า

Type of Information systems Transaction Processing Systems : TPS Management Information Systems : MIS Decision Support Systems : DSS Expert Systems : ES Office Automation Systems : OAS Communication Support Systems Office Support Systems

Transaction Processing Systems : TPS Data Processing Systems ข้อคำนึง ระบบต้องตอบสนองต่อการใช้งานของผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ระบบต้องสามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากได้ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลต้องมีความถูกต้อง ข้อมูลต้องมีความสอดคล้องกัน กรณีมีการนำเข้าข้อมูลจากผู้ใช้หลายคนพร้อมกัน

Management Information Systems : MIS นำสารสนเทศมาใช้ประกอบการตัดสินใจ วางแผน และควบคุมงานด้านต่างๆ ตามความต้องการของผู้บริหาร อาศัยข้อมูลจาก TPS ต้องทราบความต้องการสารสนเทศของผู้บริหาร รายงานตามกำหนดการ (Scheduled Report) รายงานตามความต้องการ (Demand Report) รายงานกรณีเฉพาะ (Exception Report) รายงานพยากรณ์ (Prediction Report)

Management Information Systems : MIS สิ่งที่ต้องคำนึงถึง ต้องสามารถสร้างสารสนเทศที่อ้างอิงตามหลักการจัดการ คณิตศาสตร์ หรือสถิติได้ ได้มาจากฐานข้อมูลที่รวบรวมมาจากหลายๆ แหล่ง ต้องจัดเตรียมสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น ส่วนรายละเอียด ส่วนสรุป และพยากรณ์

Decision Support Systems : DSS ช่วยให้ผู้ใช้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจงานด้านต่างๆ สามารถสร้างทางเลือกในการตัดสินใจได้ (ไม่ได้ตัดสินใจแทนผู้ใช้) ป้อนค่าของข้อมูลเหตุการณ์  ผลลัพธ์ ที่เป็นทางเลือกในการตัดสินใจ บอกผลกระทบของแต่ละทางเลือก ผู้ใช้เป็นผู้ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ถ้าผลิตหรือนำไปใช้กับผู้บริหารระดับสูง อาจเรียกว่า ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information Systems : EIS)

Decision Support Systems : DSS จัดเตรียมสารสนเทศที่ได้จาก TPS เพื่อช่วยในการตัดสินใจ ต้องสนับสนุนการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง ซึ่งเป็นการตัดสินใจต่อเหตุการณ์ที่ไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ ระบุปัญหาหรือโอกาสในการตัดสินใจ ระบุความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา เตรียมสารสนเทศที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา วิเคราะห์ทางเลือกในการตัดสินใจ เลียนแบบทางเลือกและผลลัพธ์ของการตัดสินใจ มีการดึงสารสนเทศจากคลังข้อมูล (Data warehouse)

ระบบสามารถตัดสินใจแทนผู้ใช้ได้ ประกอบด้วย Expert Systems : ES ระบบสามารถตัดสินใจแทนผู้ใช้ได้ ประกอบด้วย ฐานองค์ความรู้ (Knowledge Base) ฐานข้อมูลกฎเกณฑ์การตัดสินใจ (Rule Base) กลไกการวินิจฉัยข้อมูล (Inference Engine)

Expert Systems : ES เลียนแบบวิธีการคิดและเหตุผลของผู้เชี่ยวชาญจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาจริง สามารถใช้ร่วมกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ดึงสารสนเทศจากคลังข้อมูล

การจัดหาระบบสารสนเทศ In-house Development Outsourcing Packaged Software ผู้ให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ผลิตซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ชุดซอฟต์แวร์เพื่อแก้ปัญหาระดับองค์กร ผู้ให้บริการเช่าใช้ซอฟต์แวร์

นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) ผู้ที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างระบบสารสนเทศกับกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง (Stakeholder) เจ้าของระบบ (System Owners) ผู้ใช้ระบบ (System Users) ผู้สร้างระบบ (System Builders)

หน้าที่หลักของนักวิเคราะห์ระบบ วิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ออกแบบระบบ (System Design) แก้ปัญหาที่เกี่ยวกับกระบวนการทางธุรกิจขององค์กร (Business Problem Solver)

หน้าที่อื่นๆ รวบรวมข้อมูล จัดทำเอกสาร จัดทำพจนานุกรมข้อมูล (Eclipse, Rational Rose) สร้างแบบจำลอง ทดสอบโปรแกรม ติดตั้งและปรับเปลี่ยนระบบ จัดทำคู่มือและหลักสูตรอบรม

หน้าที่อื่นๆ จัดทำแบบสอบถาม แบบประเมิน บำรุงรักษาและประเมินผลการทำงานของระบบ เป็นผู้ให้คำปรึกษา เป็นผู้ประสานงาน เป็นผู้แก้ไขปัญหา เป็นตัวแทนการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้จัดเตรียมข้อมูลให้กับองค์กร

คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ ชำนาญงานคอมพิวเตอร์ที่หลากหลาย เข้าใจระบบธุรกิจเป็นอย่างดี เข้าใจในความต้องการของผู้ใช้ระบบเป็นอย่างดี ช่างสังเกต ช่างสงสัย มีจรรยาบรรณต่อองค์กร ไม่นำข้อมูลมาเผยแพร่ ทำงานเป็นทีมได้เป็นอย่างดี มีมนุษย์สัมพันธ์ดี

คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้ด้วยตนเอง มีความสามารถสูงในการนำเสนอข้อมูล สามารถติดต่อสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดีเมื่อจำเป็น สามารถทำงานภายใต้ภาวะความกดดันได้ เป็นนักจิตวิทยา สามารถโน้มน้าวจิตใจผู้ใช้ระบบได้