การบริหารจัดการข้าวอินทรีย์ในระดับเกษตรกร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
นโยบายคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board)
นายจิรชัย มูลทองโร่ย รองเลขาธิการ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วยโลจิสติกส์ (Logistic) และห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) สินค้าเกษตรที่สำคัญของไทย.
โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
การพัฒนาและเพิ่มมูลค่า สินค้าเกษตรอินทรีย์
แผนผังขั้นตอนการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2556/57
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
การรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
ครอบคลุมพื้นที่ 33 จังหวัด 20 โรงงาน จังหวัด..จัดการ..อย่างไร
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
กลุ่มที่ 1.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ประชุมคณะอนุกรรมการนโยบาย ข้าวแห่งชาติด้านการผลิต ครั้งที่ 2 / ๒๕๕ 5 วันที่ 21 มิถุนายน ๒๕๕ 5 เวลา น. ณ ห้องประชุมกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ 123.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
1 5 มีนาคม 2552 ดร. อภิชาติ พงษ์ ศรีหดุลชัย เครือข่าย สารสนเทศ ข้าวไทยใน อนาคต.
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
แนวทางการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
ธุรกิจประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
บทที่ 4 การค้าส่ง.
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
ช่องทางการตลาดระหว่างประเทศ
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการข้าวอินทรีย์ในระดับเกษตรกร เกษตรกรควรจะ.... เข้าใจภาพรวมของโครงการการผลิตเกษตรอินทรีย์ รู้จักและเข้าใจมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ซึ่งมีหลายมาตรฐาน จัดทำระบบควบคุมภายในกลุ่มเพื่อตรวจสอบสมาชิก รู้วิธีการผลิตและการจัดการปัจจัยการผลิตตามมาตรฐาน เช่นเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย รู้วิธีการจัดการระหว่างเก็บเกี่ยวตามมาตรฐาน เช่นการเกี่ยวข้าว การนวดข้าว รู้วิธีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวตามมาตรฐาน เช่นการจัดเก็บข้าว รู้ตลาด คือจะขายข้าวอินทรีย์ให้ใคร

การรับรองมาตรฐานคืออะไร การตรวจรับรองมาตรฐาน เป็นการตรวจรับรองทุกกระบวนการผลิต การแปรรูป การบรรจุ การขนส่ง การกระจายสินค้าและการจำหน่าย ที่ เกี่ยวกับสินค้านั้นๆ จากผู้ผลิตจนถึงผู้บริโภค (จากฟาร์ม ถึง ผู้บริโภค ไม่ใช่การรับรองคุณภาพสินค้า การตรวจรับรองมาตรฐานจะดำเนินการโดยหน่วยงานตรวจรับรองอิสระ เมื่อผ่านการตรวจรับรอง สามารถติดตราแสดงความเป็น “อินทรีย์” บนสินค้าได้

ห่วงโซ่อุปทานของระบบข้าวอินทรีย์ของโครงการฯ ชาวนา = ผลิตข้าวเปลือก X พ่อค้าข้าวเปลือก = รวบรวมข้าวเปลือก โรงสี = ผลิตข้าวสาร หน่วยงาน/บริษัทตรวจรับรองมาตรฐาน X หยง = นายหน้าขายข้าวสาร ผู้ค้าข้าวภายในประเทศ ผู้ส่งออกข้าว

จำเป็นต้องมีการตรวจรับรองมาตรฐาน หรือไม่ ขึ้นอยู่กับแนวทางการทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรทางเลือกเพื่อการพึ่งตนเอง บริโภค /จำหน่ายภายในท้องถิ่น -ไม่จำเป็น เชิงพาณิชย์ – ควรได้รับการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จากหน่วยงานที่ได้รับการเชื่อถือในแต่ละตลาดด้วย

หน่วยงานรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย ♣ หน่วยงานของรัฐ - กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง ♣ หน่วยงานเอกชนไทย - สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย (มกท.) - องค์กรรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ (มอน.) ♣ หน่วยงานของต่างประเทศ 1. Bioagricert 5. IMO (Switzerland / Germany) 2. BCS Oko-Garantie GmbH 6. OMIC (Japan) 3. Soil Association (UK) 7. Ecocert 4. Naturland (Germany 5. Skal (Natherlands)

กระบวนการตรวจสอบและรับรองของ มกท. กรรมการมูลนิธิ ตัวแทนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ องค์กรผู้บริโภค องค์กรสิ่งแวดล้อม สื่อมวลชน นักวิชการ 7. อุทธรณ์ 5. ส่งเรื่องให้อนุกรรมการ พิจารณารับรองมาตรฐาน อนุกรรมการรับรองมาตรฐาน ผู้เชี่ยวชาญจากสาขาต่างๆ 1. สมัครขอใบรับรอง/ทำสัญญา/เอกสารฟาร์ม เกษตรกร /ผู้ประกอบการ สำนักงาน มกท. 6. แจ้งผล ถ้าผ่านจะได้ใบรับรองและใช้ตรา มกท.ได้ ผู้ตรวจ ต้องผ่านการฝึกอบรมจาก สนง .มกท. มีความเป็นอิสระ ไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับการตรวจ 2. มอบหมายงานผู้ตรวจ 3. ผู้ตรวจไปตรวจ เยี่ยม 4. ผู้ตรวจส่งรายงานการตรวจฟาร์ม

ตัวอย่างเครื่องหมายรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของหน่วยงานในประเทศไทย

กรมวิชาการเกษตร

สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย

ตัวอย่างตราของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในต่างประเทศ