การบริหารจัดการข้าวอินทรีย์ในระดับเกษตรกร เกษตรกรควรจะ.... เข้าใจภาพรวมของโครงการการผลิตเกษตรอินทรีย์ รู้จักและเข้าใจมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ซึ่งมีหลายมาตรฐาน จัดทำระบบควบคุมภายในกลุ่มเพื่อตรวจสอบสมาชิก รู้วิธีการผลิตและการจัดการปัจจัยการผลิตตามมาตรฐาน เช่นเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย รู้วิธีการจัดการระหว่างเก็บเกี่ยวตามมาตรฐาน เช่นการเกี่ยวข้าว การนวดข้าว รู้วิธีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวตามมาตรฐาน เช่นการจัดเก็บข้าว รู้ตลาด คือจะขายข้าวอินทรีย์ให้ใคร
การรับรองมาตรฐานคืออะไร การตรวจรับรองมาตรฐาน เป็นการตรวจรับรองทุกกระบวนการผลิต การแปรรูป การบรรจุ การขนส่ง การกระจายสินค้าและการจำหน่าย ที่ เกี่ยวกับสินค้านั้นๆ จากผู้ผลิตจนถึงผู้บริโภค (จากฟาร์ม ถึง ผู้บริโภค ไม่ใช่การรับรองคุณภาพสินค้า การตรวจรับรองมาตรฐานจะดำเนินการโดยหน่วยงานตรวจรับรองอิสระ เมื่อผ่านการตรวจรับรอง สามารถติดตราแสดงความเป็น “อินทรีย์” บนสินค้าได้
ห่วงโซ่อุปทานของระบบข้าวอินทรีย์ของโครงการฯ ชาวนา = ผลิตข้าวเปลือก X พ่อค้าข้าวเปลือก = รวบรวมข้าวเปลือก โรงสี = ผลิตข้าวสาร หน่วยงาน/บริษัทตรวจรับรองมาตรฐาน X หยง = นายหน้าขายข้าวสาร ผู้ค้าข้าวภายในประเทศ ผู้ส่งออกข้าว
จำเป็นต้องมีการตรวจรับรองมาตรฐาน หรือไม่ ขึ้นอยู่กับแนวทางการทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรทางเลือกเพื่อการพึ่งตนเอง บริโภค /จำหน่ายภายในท้องถิ่น -ไม่จำเป็น เชิงพาณิชย์ – ควรได้รับการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จากหน่วยงานที่ได้รับการเชื่อถือในแต่ละตลาดด้วย
หน่วยงานรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย ♣ หน่วยงานของรัฐ - กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง ♣ หน่วยงานเอกชนไทย - สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย (มกท.) - องค์กรรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ (มอน.) ♣ หน่วยงานของต่างประเทศ 1. Bioagricert 5. IMO (Switzerland / Germany) 2. BCS Oko-Garantie GmbH 6. OMIC (Japan) 3. Soil Association (UK) 7. Ecocert 4. Naturland (Germany 5. Skal (Natherlands)
กระบวนการตรวจสอบและรับรองของ มกท. กรรมการมูลนิธิ ตัวแทนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ องค์กรผู้บริโภค องค์กรสิ่งแวดล้อม สื่อมวลชน นักวิชการ 7. อุทธรณ์ 5. ส่งเรื่องให้อนุกรรมการ พิจารณารับรองมาตรฐาน อนุกรรมการรับรองมาตรฐาน ผู้เชี่ยวชาญจากสาขาต่างๆ 1. สมัครขอใบรับรอง/ทำสัญญา/เอกสารฟาร์ม เกษตรกร /ผู้ประกอบการ สำนักงาน มกท. 6. แจ้งผล ถ้าผ่านจะได้ใบรับรองและใช้ตรา มกท.ได้ ผู้ตรวจ ต้องผ่านการฝึกอบรมจาก สนง .มกท. มีความเป็นอิสระ ไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับการตรวจ 2. มอบหมายงานผู้ตรวจ 3. ผู้ตรวจไปตรวจ เยี่ยม 4. ผู้ตรวจส่งรายงานการตรวจฟาร์ม
ตัวอย่างเครื่องหมายรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของหน่วยงานในประเทศไทย
กรมวิชาการเกษตร
สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย
ตัวอย่างตราของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในต่างประเทศ