มาตรฐานสินค้าบนเส้นทางสู่ AEC สถาบันคลังสมองของชาติ มาตรฐานสินค้าบนเส้นทางสู่ AEC การเสวนาทางวิชาการเรื่อง “มาตรฐานสินค้าสู่ AEC” จัดโดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ณ อาคารศูนย์ประชุมวายุภักษ์ วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 เวลา 10.00-12.00 น ณ ณ ห้องประชุมออดิทอเรียม อาคารศูนย์ประชุมวายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ รศ. สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ
การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การเสวนาทางวิชาการเรื่อง “มาตรฐานสินค้าสู่ AEC” จัดโดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ณ อาคารศูนย์ประชุมวายุภักษ์ วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 หัวข้อการนำเสนอ การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC AEC กับโอกาสทางธุรกิจ
1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การเสวนาทางวิชาการเรื่อง “มาตรฐานสินค้าสู่ AEC” จัดโดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ณ อาคารศูนย์ประชุมวายุภักษ์ วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3 สถาบันคลังสมองของชาติ
► ความเป็นมาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ► ความเป็นมาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2510 2527 2535 2538 ก่อตั้งสมาคม ASEAN มีสมาชิก 5 ประเทศ บรูไนเข้าร่วมเป็นสมาชิก บรรลุข้อตกลงการเป็นเขตการค้าเสรีอาเซียน(AFTA) เกิดกรอบตกลงการค้าและบริการ(AFAS) เกิดเขตการลงทุนอาเซียน(AIA) เวียดนามเข้าร่วมเป็นสมาชิก 2539 เกิดความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน(AICO) 2540 กำหนดวิสัยทัศน์ให้เป็นกลุ่มที่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ลาวและพม๋าเข้าเป็นสมาชิก 18ปี 2541 เริ่มใช้เขตลงทุนอาเซียน(AIA) จัดทำแผนปฏิบัติการฮานอยเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน 2542 กัมพูชาเข้าร่วมเป็นสมาชิก อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ 2545 เกิดแนวคิดการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 ณ กัมพูชา 2546 เกิดปฏิญญาบาหลีเพื่อไปสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2550 เกิดปฎิญญา Cebuเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC)และเร่งการเป็นประชาคมอาเซียนจากปี 2563 มาเป็น 2558 2553 2558 เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ประเทศอาเซียนเดิมลดภาษีเป็น 0% ไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) 4 ที่มา :ปรับปรุงจากข้อมูลที่ปรากฎใน www.dtn.moc.go.th (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ) และ www.asean.org ,
เป้าหมายของการรวมกลุ่ม 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมอาเซียน 2015 (2558) กฎบัตรอาเซียน(ASEAN Charter ประชาคมความมั่นคงอาเซียน(ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน(ASCC) เป้าหมายของการรวมกลุ่ม โดยจะมีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน(Single Market and Production Base) และจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี ที่มา:ASEAN Economic Community FactBook
ประเทศในกลุ่มASEAN ASEAN+3 ASEAN +6 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศในกลุ่มASEAN ASEAN+3 ASEAN +6 การเปิดเสรีในการค้าจะทำให้ตลาดการค้าอาเซียนรวมกันเป็นตลาดเดียวรวมถึงตลาดสินค้าเกษตร มีประชากร 595 ล้านคนและ มีขนาดของ GDP 1.5 ล้านล้าน US$ การเปิดตลาดอาเซียน+ 3 จะทำให้มีประชากรประมาณ 2,112 ล้านคนและมีขนาด GDP 9.9 ล้านล้านUS$ ประกอบด้วย: ASEAN+จีน+ญี่ปุ่น + เกาหลี การเปิดตลาดอาเซียน+ 6 จะทำให้มีประชากรประมาณ 3,284 ล้านคนและมีขนาด GDP 12.5 ล้านล้านUS$ ประกอบด้วย: ASEAN+จีน+ญี่ปุ่น + เกาหลี+อินเดีย+ออสเตรเลีย+นิวซีแลนด์ 6
►การก้าวสู่ยุคของนโยบายการค้าเสรี 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ►การก้าวสู่ยุคของนโยบายการค้าเสรี การก้าวเข้าสู่นโยบายการค้าเสรี นำไปสู่กฎกติกาใหม่ๆ ตลาดการค้าแม้จะมีความร่วมมือมากขึ้น แต่จะมีมาตรการใหม่ๆเพื่อกำหนดมาตรฐานและคุณภาพซึ่งจะเป็นการกีดกันทางการค้าทางอ้อม ด้านการค้าและความร่วมมือที่เปลี่ยนแปลง ลัทธิการปกป้องและ กีดกันทางการค้า กฎระเบียบการค้ามีความเข้มข้นมากขึ้น กระแสภูมิภาคนิยม ความร่วมมือของเอเชียเพิ่มขึ้น ที่มา:ดัดแปลงจากลดาวัลย์ คำภา สถาบันคลังสมองของชาติ
►โลกในยุคของการค้าเสรี 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ►โลกในยุคของการค้าเสรี โลกในยุคของการค้าเสรีอำนาจจะเป็นของผู้บริโภคมากกว่าผู้ผลิต การค้าจะไร้พรหมแดนมากขึ้น และจะมีการใช้เครื่องมือที่ไม่ใช่ภาษี(non-tariff barrier) มาเป็นเครื่องมือกีดกันทางการค้าเพิ่มมากขึ้น การแข่งขันในตลาดสินค้าจะเป็นการแข่งขันในด้านคุณภาพที่รุนแรงขึ้น สินค้าที่ขาดคุณภาพจะถูกเบียดหายไปจากตลาดการค้า มาตรการทางการค้าจะให้ความสนใจกับสุขอนามัยและความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นสิ่งสำคัญ ไปพร้อมๆกับมีการกำหนดมาตรฐานคุณภาพ การแข่งขันที่รุนแรงในตลาดการค้า ทำให้ผู้ผลิตต้องอาศัยเทคโนโลยีใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิตหรือต้องพึ่งพิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อทำให้ต้นทุนการผลิตต่ำลง เพื่อทำให้คุณภาพดีขึ้นด้วยต้นทุนที่ต่ำ
การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สิ่งที่จะเกิดขึ้นหลังจากปี 2558 การขยายตัวของพรหมแดนการค้าและการผลิต เกิดเป็นSingle Market and Single Production Base การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี
แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC ที่มา: google.com
แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) ที่มา: google.com
แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) เป้าหมายการเปิดเสรีสาขาบริการในแต่ละรอบ ที่มา: สมภพ มานะรังสรรต์
แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) สาขาของภาคบริการ(Services)ที่เปิดภายใต้ AEC ประเภทของสาขาในภาคบริการ 1 บริการด้านธุรกิจ(วิชาชีพ คอมพิวเตอร์ โฆษณา ให้เช่า อื่นๆ) 2 บริการสื่อสาร 3 บริการก่อสร้าง (งานวิศวกรรม การติดตั้ง อื่นๆ) 4 บริการจัดจำหน่าย(ค้าส่ง ค้าปลีก แฟรนไชส์ ตัวแทนจำหน่าย) 5 บริการทางการศึกษา 6 บริหารสิ่งแวดล้อม(บำบัดน้ำเสีย อื่นๆ) 7 บริการทางการเงิน(ธนาคาร ประกันภัย) 8 บริการด้านสุขอนามัย 9 บริการด้านการท่องเที่ยว(โรงแรม ร้านอาหาร บริษัททัวร์ อื่นๆ) 10 บริการด้านนันทนาการ(วัฒนธรรม กีฬา ห้องสมุด อื่นๆ) 11 บริการขนส่ง 12 บริการอื่นๆ
แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) ที่มา: google.com
แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) ที่มา: google.com
แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แรงขับเคลื่อนหลังการเป็น AEC(ต่อ) ความร่วมมืออื่นๆ อาหาร เกษตร และป่าไม้ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา โครงสร้างพื้นฐาน (ขนส่ง ICT พลังงาน เหมืองแร่) พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ การสนับสนุนด้านเงินทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนา SME
ภาพของธุรกิจอุตสาหกรรมใน ASEANเมื่อเข้าสู่ AEC 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภาพของธุรกิจอุตสาหกรรมใน ASEANเมื่อเข้าสู่ AEC ฐานการผลิตอยู่ที่ใดขึ้นอยู่กับ ที่ใดจะมีความได้เปรียบสูงสุดในด้านต้นทุนปัจจัยการผลิตหรือในด้านการตลาด ได้เปรียบมากน้อยเพียงใดอยู่ใกล้แหล่งวัคถุดิบ ต้นทุนด้าน Logistic สภาพแวดล้อมการลงทุนรวมถึง กฎระเบียบ ข้อกำหนดของรัฐ ในห่วงโซ่การผลิต ไม่จำเป็น ต้องอยู่ในประเทศใดประเทศหนึ่งเพียงแห่งเดียว กลยุทธ์สำคัญในการแข่งขันคือการใช้ประโยชน์สูงสุด จากฐานการผลิตร่วม ใน AEC ที่มา:สมภพ มานะรังสรรค์
กลยุทธสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม 1. การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กลยุทธสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม Focus more on medium to high-end market segment สร้างความเป็นหุ้นส่วนเพื่อให้เกิดเป็นพันธมิตรที่ดี สร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจร่วมกัน การร่วมกันในการพัฒนามาตรฐานและคุณภาพของสินค้า การสร้างภูมิภาคนิยม promote intra-ASEAN regionalization Branding Thai product and services Sourcing หาลู่ทางขยายการค้า สุวรรณา ประณีตวตกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC
การปรับตัวเพื่อรองรับกับการขยายตัวของตลาด 2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC การปรับตัวเพื่อรองรับกับการขยายตัวของตลาด เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การจัดการ และการดำเนินธุรกิจ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน พัฒนารูปแบบและคุณภาพของสินค้า พัฒนาคุณภาพของสินค้าให้ได้มาตรฐานของตลาดและให้ความใส่ใจในคุณภาพและสุขอนามัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Good Manufacturing Practice (GMP) Good Agricultural Practice (GAP)
มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี 2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี ความเป็นพลวัตของมาตรฐานและคุณภาพของสินค้าและบริการ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน มาตรฐานทั่วไป (ISO; HACCP มาตรฐาน Logistic etc มาตรฐานทั่วไป (ISO/ASTM/JIS/TIS) etc การเข้าสู่ Word Free Trade Economy ตามบริบทขององค์การการค้าโลก Each ASEAN Country Standard ASEAN Common Standard International Standard การเกษตร การบริการและการขนส่ง การอุตสาหกรรม มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร เช่นข้าวหอมมะลิ มาตรฐานระบบ (เช่น GAP, Organic Thailand, GMP เป็นต้น) มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX/ IPPC มิติเวลา การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) 2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) ตัวอย่างมาตรฐานด้านความปลอดภัยของสินค้า Food Standard Hazard Analysis Critical Control Point การวิเคราะห์อันตรายจุดควบคุมวิกฤตเป็นแนวคิดเกี่ยวกับมาตรการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรม Good manufacturing Practice เกณฑ์ขั้นพื้นฐานที่จำเป็นในการผลิตและควบคุม เพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตามและทำให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย โดยเน้นการป้องกันและขจัดความเสี่ยงที่อาจจะทำให้ อาหารเป็นพิษ เป็นอันตราย หรือเกิดความไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ISO22000 เป็นการรวมระบบ GMP ซึ่งเป็นระบบพื้นฐานของอุตสาหกรรมอาหารกับระบบ HACCP ซึ่งเป็นระบบวิเคราะห์จุดอันตรายแต่ละขั้นตอนการผลิต และมีการผนวก ISO9001 เข้าไปเสริมในเรื่องการจัดการและระบบเอกสารทำให้ระบบนี้สามารถประกันความปลอดภัยของสินค้าตลอดระบบห่วงโซ่อาหารดียิ่งขึ้น Source: Nopporn Thepsithar (2013)
มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) 2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) ตัวอย่างมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม Green Label Thai Green Label: รับรองผลิตภัณฑ์ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกัน SIRIM QAS International Snd.Bhd: รับรองสินค้าบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Singapore Green Label Scheme (SGLS): รับรองมาตรฐานสินค้าเพื่อสิ่งแวดล้อมและสนับสนุนการบริโภคและการผลิตอย่างยั่งยืน Green Choice Philippines (GCP): รับรองผลิตภัณฑ์และบริการที่มีผลกระทบน้อยเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกัน Lembaga Indonesia Ekolabel: รับรองใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ Laos Organic: รับรองผลิตภัณฑ์ทางธรรมชาติที่ปลูกโดยวิธีทางเกษตร ที่ควบคุมไม่ให้มีการปนเปื้อนของสารเคมีในทุกขั้นตอน Source: Nopporn Thepsithar (2013)
มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) 2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) Source: Nopporn Thepsithar (2013)
มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) 2. มาตรฐานสินค้า: การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จาก AEC มาตรฐานและคุณภาพของสินค้าเป็นความต้องการในการก้าวสู่การค้าเสรี(ต่อ) Source: Nopporn Thepsithar (2013)
3. AEC กับโอกาสทางธุรกิจ วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2556 3. AEC กับโอกาสทางธุรกิจ
AEC กับการก้าวเป็นจุดเชื่อมต่อธุรกิจ Education Hub Agricultural and Food industry Hub Medical Hub
AEC กับการก้าวเป็นจุดเชื่อมต่อธุรกิจ(ต่อ) Transportation and Logistic Hub Retail Hub Tourism Hub Industrial Hub
AEC กับเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจเป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ภายใต้ ASEAN mainland and จีนตอนใต้ 1 2 1.North-South Corridor 2.Northern Corridor 3.North-Eastern Corridor 4.Eastern Corridor 5.Central Corridor 6.East-West Corridor 7.New Southern Corridor 8.Southern Corridor 9.Southern Coastal Corridor 4 3 5 6 7 8 9 ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
ประเด็นการซักถาม Q&A