กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
โครงการเรดด์พลัส (REDD Plus)
แนวปฏิบัติในการขอทำประโยชน์ในเขตป่า
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ  คัดเลือกคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการฯ  คัดเลือกที่ทำการศูนย์บริการฯ  แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช บทบาทชุมชนกับการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้ำ : กรณีศึกษา บ้านแสนสุข ตำบลศรีค้ำ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย (The Role’s Community for Agriculture Chemicals at Watershed Area : Case Study of SaenSuk Village, SiKham Sub-district, MaeChan District, ChiangRai Province) โดย นิเวศน์ เหลี่ยมพันธุ์1 วรชัย กิติวิริยะชัย2 สมชัย เบญจชย3 และนพรัตน์ แสงแก้ว4 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาบทบาทของชุมชนต่อการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่คำ (บ้านแสนสุข) 2. เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลกระทบจากการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่คำ

คำถามวิจัย 1.ชุมชนรู้จักสารเคมีเพื่อการเกษตรได้อย่างไร ใช้เพราะอะไร 2.ชุมชนรู้ถึงผลกระทบจากการใช้สารเคมีเพื่อ การเกษตรหรือไม่ 3.บทบาทชุมชนต่อการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตร

ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 1. สำรวจข้อมูลเบื้องต้น กำหนดปัญหา กำหนดกลุ่มเป้าหมายและจำนวน 2. การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง เกษตรกรที่ใช้สารเคมี 4 คน และผู้นำชุมชน 4 คน

ระเบียบวิธีวิจัย 3. ดำเนินการรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์ 4. วิเคราะห์ข้อมูล 5. อภิปราย สรุปผลโดยการพรรณนา นำเสนอผลการวิจัย  

ผลการศึกษาวิจัย 1. ข้อมูลส่วนบุคคล 2. การใช้สารเคมีเพื่อการเกษตร 2.1 ชนิดปุ๋ยเคมีและวิธีการใช้ 2.2 ชนิดสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและวิธีการใช้ 3. ผลกระทบจากสารเคมีเพื่อการเกษตร

ผลการศึกษาวิจัย 4. การแก้ไขปัญหาผลกระทบจากสารเคมีเพื่อ การเกษตร 5. บทบาทองค์กรภาคต่างๆ ในการแก้ไขปัญหา ผลกระทบจากสารเคมีเพื่อการเกษตร 6. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ

วิเคราะห์ผลการศึกษาวิจัย 1. เป็นชุมชนชาวไทยภูเขาเผ่าอาข่า 2. สารเคมีกับชุมชนบ้านแสนสุข 3. ผลกระทบจากการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตร 4. ชุมชนหัวก้าวหน้า VS ชุมชนต้องการความรู้เพิ่มเติม

วิเคราะห์ผลการศึกษาวิจัย 5. บทบาทของชุมชนต่อการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตร 5.1 ผู้นำชุมชน 5.2 ชุมชนหัวก้าวหน้า 5.3 ชุมชนที่ต้องการความรู้เพิ่มเติม 5.4 การแสดงแบบอย่าง 5.5 การแสวงหาความร่วมมือ

กรอบแนวความคิด ก่อนศึกษาเก็บข้อมูล

กรอบแนวความคิด หลังศึกษาเก็บข้อมูล

สรุปและข้อเสนอแนะ สภาพพื้นที่/สถานที่ *ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ระบบขั้นบันได *ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณหมู่บ้านและใกล้เส้นทาง คมนาคม เพื่อเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ *ฟื้นฟูด้านป่าไม้โดยชุมชนเพื่อชุมชน

สรุปและข้อเสนอแนะ 2. ลักษณะทางสังคม *ส่งเสริมการรวบรวมภูมิปัญญาวัฒนธรรมประเพณี ดั้งเดิม นำไปสู่การปฏิบัติเชื่อมโยงวิถีชีวิตปัจจุบัน *ส่งเสริมด้านความรู้ความเข้าใจเรื่องต่างๆ ที่ชุมชน ต้องการ

สรุปและข้อเสนอแนะ 3. ด้านเศรษฐกิจรายได้ * ให้จัดตั้งศูนย์เรียนรู้อาชีพที่เหมาะสม

สรุปและข้อเสนอแนะ 4. ด้านสิ่งแวดล้อม *ให้มีสภาพเป็นป่าริมห้วยไม่น้อยกว่า 15 เมตร เพื่อดักตะกอนกรองสารเคมีก่อนไหลลงห้วย *ให้ประสานหน่วยงาน/องค์กรสารอินทรีย์ชีวภาพ เพื่อเพิ่มธาตุอาหารในดิน/ป้องกันหรือกำจัดแมลง ศัตรูพืช *ให้มีแปลงสาธิตเกษตรไม่ใช้สารเคมีที่สัมฤทธิ์ผล

สรุปและข้อเสนอแนะ 5.ด้านการบริหารจัดการ *ส่งเสริมกลุ่มคนรุ่นใหม่อย่างต่อเนื่อง *ให้เกิดกฎกติกาที่สอดคล้องกับกาลเวลาที่เหมาะสม *ชุมชนมีส่วนร่วมคิด พูด ทำ และร่วมรับผลที่เกิดขึ้น ร่วมกัน เพื่อให้เกิดการยอมรับ *ให้กำหนดเป้าหมายเป็น % ลดสารเคมี และ % ที่เพิ่มขึ้นของชีวภาพที่ทดแทน

ผังสรุปข้อเสนอแนะ

ขอบคุณครับ