คำแนะนำสำหรับการกรอกข้อมูล 1 เจ้าหน้าที่ทุกคน กรอกข้อมูลในแบบกรอกสำหรับ เจ้าหน้าที่แต่ละบุคคล (Task List) โดยเก็บข้อมูลตั้งแต่ วันที่ 1 ต.ค. 54 – 30 ก.ย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
ขั้นตอนการลงทะเบียนหนังสือส่ง (โดยภาพรวม)
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การพัฒนาโครงการ.
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาลสำหรับนิสิตที่ทำกิจกรรมนอกสถานที่ กลุ่ม Firstaid.
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
การประชุมชี้แจง แนวทางการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การเขียนโครงการ.
Creative Mind กลุ่ม 2.
การกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
แบบฝึกหัด.
การจัดเก็บข้อมูลภูมิปัญญา
การวิเคราะห์ Competency
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.

ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
G Garbage.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
การศึกษาทบทวนเพื่อคาดการณ์กำลังคน ด้านสาธารณสุข ปี 2551
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
งานประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานมหาวิทยาลัย ประจำปี
งานประเมินผลการปฏิบัติงาน ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ประจำปี ครั้งที่ 1
หน่วยบริหารทรัพยากรบุคคล ชัญญณัฏฐ์ สุวรรณโกสุม.  WF งานประเมินผลการปฏิบัติงาน ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ประจำปี ครั้งที่ 2 WF งานประเมินผลการปฏิบัติงาน.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
การเขียนรายงานการวิจัย
พัฒนาการสื่อสารงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การบันทึกลดหย่อนภาษี(ล.ย.01) และต้นทุนกิจกรรมย่อย
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
Easy way to Estimate Training Project
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่

การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
>>0 >>1 >> 2 >> 3 >> 4 >> เมนูแผนของบประมาณ แสดงวิธีการบันทึกข้อมูลหน้าระบบทีละขั้นตอน ข้อพิจารณา : ผู้สร้างต้องมีข้อมูล ดังนี้ - แผนปฏิบัติราชการ หรือโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ผลงาน CQI งานกายภาพบำบัด
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ขั้นตอนการประเมินสมรรถนะและการวางแผนพัฒนารายบุคคล
การจัดทำคำอธิบายรายวิชา
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำแนะนำสำหรับการกรอกข้อมูล 1 เจ้าหน้าที่ทุกคน กรอกข้อมูลในแบบกรอกสำหรับ เจ้าหน้าที่แต่ละบุคคล (Task List) โดยเก็บข้อมูลตั้งแต่ วันที่ 1 ต.ค. 54 – 30 ก.ย. 55 ตามหัวข้อที่ระบุไว้ รวมทั้ง ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลตามแบบตรวจสอบ 2 หัวหน้ากลุ่มงาน นำ แบบกรอกสำหรับเจ้าหน้าที่แต่ละบุคคล มาสรุปลงในแบบ สำรวจภารกิจของกลุ่มงาน (Activity List) -โดยใช้หลักการรวมกิจกรรมที่เหมือนกันนำมารวมไว้ ด้วยกัน กิจกรรมที่รวมกับกิจกรรมไม่ได้ก็แยกไว้ -จำนวนชั่วโมงรวมทั้งสิ้นของกลุ่มงาน คิดเป็น100% รวมทั้งคำนวณ ชั่วโมงการทำงานแต่ละกิจกรรม เป็นร้อย ละ 3 หัวหน้ากลุ่มงานสรุป ข้อมูลจากแบบกรอกสำหรับ เจ้าหน้าที่แต่ละบุคคล และ แบบสำรวจภารกิจของกลุ่ม งาน มาสรุปลงในผังการกระจายงาน (Work Distribution Chart) โดยจำแนกกิจกรรม และ ชั่วโมง การทำงาน ลงใน ผังการกระจายงาน

ข้อพึงระมัดระวัง แยกชั่วโมงงานที่ทำงานในเวลา และงานที่ได้ ค่าตอบแทนล่วงเวลาไว้ด้วย และบวกรวมเป็น ชั่วโมงรวมทั้งหมดแต่ละบุคคล การนับชั่วโมงที่ใช้ในการเดินทาง หากเดิน จาก ต่างจังหวัดไปร่วมประชุมให้ทันในเวลาเช้าไม่ นับชั่วโมงการทำงาน แต่หากมีที่ทำงาน 2 ที่ เช่น วัดค่าน้ำในบ่อบำบัดในที่หนึ่ง เดินทางไป ครึ่งชั่วโมงเพื่อไปวัดค่าน้ำในบ่อบำบัดอีกที่หนึ่ง ให้นับระยะเวลาการเดินทางไว้ด้วย การกรอกภาระงานรายบุคคล งานที่เรามิได้ ปฏิบัติ ไม่ต้องนำมาเขียน

การสำรวจภารกิจของเจ้าหน้าที่แต่ละบุคคล (Task List) เก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 54 – 30 ก.ย. 55 (1 ปีที่ผ่านมา) กลุ่มงาน ชื่อ ตำแหน่ง ลำดับที่ รายละเอียดรายการงานแต่ ละบุคคล ปริมาณ ( โปรดระบุหน่วยด้วย เช่น ข้อ ชุด ฉบับ คน ครั้ง ฯลฯ ) จำนวน ชม./ ปี รวม

การสำรวจภารกิจของกลุ่มงาน (Activity List) เก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 54 – 30 ก.ย. 55 (1 ปีที่ผ่านมา) กลุ่มงาน ลำ ดับ ที่ กิจกรรมหรือหน้าที่ของกลุ่มงานที่ ปฏิบัติจริง จำนวนชั่วโมง " จำนวน พนักงาน - ลูกจ้างที่ ปฏิบัติงาน " " ร้อยละของ เวลาที่ใช้ ปฏิบัติงาน ทั้งหมด " รวม 100

ผังการกระจายงาน (Work Distribution Chart) ชื่อ กลุ่มงาน เก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 54 – 30 ก.ย. 55 (1 ปีที่ผ่านมา) จาก Activity List รวมของกลุ่มงาน จาก Task List ………………. ลำ ดับ กิจ กรรม รวม ชม./ ปีทั้ง กลุ่ม งาน ชื่อ.... ตำแ หน่ง.... ผลงาน ชม./ ปี ชื่อ.... ตำแหน่ ง... ผลงาน. ชม. / ปี ชื่อ.... ตำแหน่ ง.... ผลงาน ชม./ ปี รวมเวลาที่ใช้ใน การทำกิจกรรม

ตารางสำหรับการ ตรวจสอบ

การตรวจสอบ (Task List) ลำดับที่ รายละเอียดรายการงานแต่ละ บุคคล ปริมาณ ( โปรดระบุหน่วยด้วย เช่น ข้อ ชุด ฉบับ คน ครั้ง ฯลฯ ) จำนวน ชม./ ปี 1 งานที่ใช้เวลามาก ?2 เวลาที่ใช้ในการทำงานต่อ หน่วย ต้องเข้าไปสังเกตงาน หรือ สัมภาษณ์งาน เพิ่มเติม กรณียังไม่ชัดเจนให้ หมายเหตุไว้ หรือให้ ข้อสังเกตไว้ 3 ได้ ผลงานเท่าใด กี่อย่าง กี่ชิ้น ใน 1 ปี 4 รวมชั่วโมงที่ ใช้ใน 1 ปี เจ้าของงานก็ต้องแก้ไขตาม ข้อสังเกต หมายเหตุ สรุปจำนวนผลงานที่ทำได้

ภาพการแสดง Task List เป็น Activity List