การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2555 จังหวัดสุรินทร์
คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วน ของกระทรวงสาธารณสุข คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วน ของกระทรวงสาธารณสุข 1.1 : การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตเมือง/ชนบท
ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ ประเมินสภาพปัญหา นโยบาย การประเมินกลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ การประเมินผล การกำกับติดตาม แผนปฏิบัติ การรายงานผล การปฏิบัติ ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ
ประเมินสภาพปัญหา มีการวิเคราะห์ส่วนขาดของการบริหารจัดการทรัพยากร( คน/เงิน/ของ ) ที่ชัดเจน (ปัจจุบันสัดส่วนบุคลากรสุรินทร์1:1,246) มีการจัดทำ Base line ข้อมูลตามตัวชี้วัด 5 4 3
นโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ นโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ นโยบายจังหวัด / แผนพัฒนาปฐมภูมิ ( แผนคน/เงิน/ของ ) / แผนในระดับ CUP ที่ชัดเจน มีการนำองค์กร/กระบวนการสนับสนุนทุกระดับ มีแผนการพัฒนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากปัญหาจริงตามบริบท 5 4 3
การประเมินกลยุทธ์ การประเมินผล การกำกับติดตาม การรายงานผล การประเมินกลยุทธ์ การประเมินผล การกำกับติดตาม การรายงานผล การรายงานยังเข้าใจในคำจำกัดความไม่ตรงกัน เช่น กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคพื้นฐาน จุดเด่น การพัฒนาคุณภาพ PCA 5 4 3
การปฏิบัติ ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ 5 เกณฑ์จำนวนครั้งที่มารับบริการที่รพสต./ศสม.(ร้อยละ) รพสต. 32 แห่ง ศสม. 4 แห่ง 4 3
การปฏิบัติ ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ 5 ผู้ป่วย DM/HT ในรพ.แม่ข่ายลดลง (ร้อยละ) รพสต. 32 แห่ง ศสม. 4 แห่ง 4 3
คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วน ของกระทรวงสาธารณสุข คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วน ของกระทรวงสาธารณสุข 1.2 : มาตรการการสร้างสุขภาพ เพื่อลดผลกระทบจาก โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(สุขภาพดีวิถีไทย)
คณะที่ 1 หัวข้อ 1. 2 ประเด็นการตรวจราชการ 1. 2 คณะที่ 1 หัวข้อ 1.2 ประเด็นการตรวจราชการ 1.2.1 : กระบวนการสร้างสุขภาพระดับตำบลที่มีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
นโยบาย/แผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการ การประเมินผล/กำกับติดตาม/การรายงานผล นโยบาย/แผนกลยุทธ์/แผนปฏิบัติการ ในปี 2555 เร่งรัดให้ รพ.ชุมชนทุกแห่งเปิดให้บริการคลินิก DPAC แก่กลุ่มเสี่ยงอย่างเป็นรูปธรรม และขยายการให้บริการลงไปที่ รพ.สต. อำเภอละ 1 แห่ง ระบบรายงานของอำเภอประเมินตนเอง จังหวัดออกติดตามประเมินในพื้นที่ ปีละ 2 ครั้ง จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน
การปฏิบัติ/ผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ จัดตั้งคลินิก DPAC เปิดบริการที่เป็นรูปธรรม จำนวน 6 แห่ง (รพ.สุรินทร์,ชุมพลบุรี,ท่าตูม,ปราสาท,สังขะ และลำดวน) คลินิก DPAC ที่สามารถเป็นต้นแบบ/ศูนย์เรียนรู้ได้ชัดเจน คือ รพ.ชุมพลบุรี
การปฏิบัติ/ผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้ดำเนินการผ่านขบวนการ 7 ขั้นตอน หมู่บ้านประเมินตนเอง ผ่าน 157 หมู่บ้าน และอยู่ระหว่างรอประเมินซ้ำของจังหวัด
จุดเด่นที่พบ จังหวัดมีนโยบายลด หวาน มัน เค็ม อย่างจริงจัง เป็นรูปธรรม ตัวอย่างเช่น การจัดเมนู Healthy Break ในหน่วยงานสังกัดสาธารณสุขทุกแห่ง
คณะที่ ๑ การติดตามนโยบายปัญหาเร่งด่วน คณะที่ ๑ การติดตามนโยบายปัญหาเร่งด่วน หัวข้อที่ ๑.๒.๒ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง และพัฒนาระบบบริการ และการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สำคัญ คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผู้รับผิดชอบ : กรมควบคุมโรค ประเด็น รายละเอียด จุดเด่น ประเมินสภาพปัญหา - ความซ้ำซ้อนของระบบรายงาน ซึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนา Data Center - มีความพยายามเชื่อมโยงระบบข้อมูลให้เกิดการนำไปใช้ประโยชน์ทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล นโยบาย ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยปี 2555 ขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพระดับอำเภอ ตำบล จัดทำแผนบูรณาการระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล มีการพัฒนาcase/care manager ระดับอำเภอ
ประเด็น รายละเอียด จุดเด่น แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ เน้นการส่งเสริมให้มีการสร้างสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ภายใต้แนวคิด ชุมชน/ท้องถิ่นเป็นเจ้าของสุขภาวะชุมชน ขับเคลื่อน -จังหวัดสามารถแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการในระดับอำเภอและตำบลได้ดี ทำให้แผนระดับต่างๆ มีความสอดรับกัน -อปท.และภาคส่วนต่างๆ มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนและระดมทรัพยากรในพื้นที่ การติดตามประเมินผล ประชุม คปสจ. ทุกเดือน ประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบ/ติดตามงานทุก 3 เดือน รายงานความก้าวหน้าทางเว็บไซต์ของ สสจ. - มีการประเมินการลงข้อมูลในโปนแกรม Hos x-p โดยงานICT เข้ามาช่วยดึงข้อมูล - ICT ลงชี้แจงในเรื่องของโปรแกรม Hos x-p ในระดับ รพ.สต ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ปี 2555 ใน 4 เดือน -การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง DM/HT ในกลุ่ม 35 ปีขึ้นไป ได้ร้อยละ 23.60 การพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เร่งรัด เพิ่มรพสต.ละ 1 แห่ง การตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา จังหวัดมีการแก้ปัญหาในเรื่องการใช้กล้องจุลทรรศน์ โดยมีการสอนพยาบาลในระดับอำเภอให้สามารถอ่าน และตรวจภาพได้
ปัญหาอุปสรรค ผู้รายงานในระบบรายงานโปรแกรม Hos x-p ยังไม่มีความชำนาญ การเปลี่ยนตัวผู้รับผิดชอบงาน ประเด็นฝากจากจังหวัด 1.พัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นไปแบบเดียวกันทั้งจังหวัด โดยมอบงานเทคโนโลยีและสารสนเทศเป็นผู้พัฒนาระบบอย่างจริงจัง 2.จัดหาเครื่องถ่ายภาพดิจิตอลเพื่อถ่ายภาพจอประสาทตาผู้ป่วยเบาหวานเพิ่ม เพื่อบริหารจัดการเป็นโซนโรงพยาบาลชุมชน 3.จัดหาเจ้าหน้าที่เทคนิค รับผิดชอบเป็นผู้ถ่ายภาพจอประสาทตาพร้อมแปลผลการดำเนินงานในภาพรวมของโซนโรงพยาบาลชุมชน
คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วน ของกระทรวงสาธารณสุข คณะที่ 1 การติดตามนโยบายและปัญหาเร่งด่วน ของกระทรวงสาธารณสุข 1.3 : การจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุข เมื่อเกิดภัยพิบัติ โรคระบาดและภัยสุขภาพ
ประเมินสภาพปัญหา มีการประชุมร่วมกันเพื่อจัดทำแผนรองรับภัยพิบัติภัยสงคราม อบรม อฉช.ต้นแบบ 5 4 3
นโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ นโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ มีแผนสอดคล้องกับ Scenarioและกระบวนการสั่งการ(Dispatch) ที่ชัดเจน มีการซ้อมแผนรองรับอุบัติเหตุหมู่ มีการวิเคราะห์ซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (PHER) 5 4 3
การประเมินกลยุทธ์ การประเมินผล การกำกับติดตาม การรายงานผล การประเมินกลยุทธ์ การประเมินผล การกำกับติดตาม การรายงานผล การติดตามและประเมินผลยังดำเนินการในกลุ่มผู้รับผิดชอบควรมีระบบรายงานข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบ 5 4 3
การปฏิบัติ ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ ผลการดำเนินการ EMS ในการเพิ่มการให้บริการผู้ป่วยสีแดงยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย(มากกว่าร้อยละ 15 ) เช่นเดียวกับการลดการขนผู้ป่วยสีเขียวมาด้วยรถ EMS 5 4 3