นายมณฑล สุริยาประสิทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
01 COE ฐานข้อมูลชุมชนสุขภาวะต้นแบบ 500 ตำบล
กลุ่ม QQQ แผนก วางแผนปรับปรุงและพัฒนา กอง ปรับปรุงพัฒนาระบบส่ง
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
วัตถุประสงค์ของการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Location Problem.
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
กรมชลประทานได้รับผลกระทบจาก แผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 สำนักการคลังและสินทรัพย์
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การเสนอโครงการวิจัย.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
สำนักวิชาการและแผนงาน
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การเปรียบเทียบทศนิยม และการใช้เครื่องหมาย  ,  ,  และ 
โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
กราฟเบื้องต้น.
รายงานผลการดำเนินงานงบบำรุงปกติ ไตรมาส 3
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
กราฟเบื้องต้น.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายมณฑล สุริยาประสิทธิ์ การสังเคราะห์สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน และเรือนยอดของพืชปกคลุมดิน โดยใช้ข้อมูลการสำรวจระยะไกล และข้อมูลภาคสนาม ในพื้นที่สูงซึ่งเข้าถึงได้ยาก สำหรับการประเมินการชะล้างพังทลายของดิน นายมณฑล สุริยาประสิทธิ์ ผศ.ดร. ดูบร้า เชรสตา

วัตถุประสงค์ในการศึกษา พื้นที่ศึกษา วิธีการศึกษา ผลการศึกษา สรุป Outline ความเป็นมา วัตถุประสงค์ในการศึกษา พื้นที่ศึกษา วิธีการศึกษา ผลการศึกษา สรุป

ความเป็นมา การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน จาก ป่าไม้ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม รวมถึงการ ตัดไม้ทำลายป่าในบริเวณที่มีความลาดชันสูง ทำให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน สภาพภูมิประเทศที่เป็นภูเขาก่อให้เกิดอุปสรรคในการเก็บข้อมูลที่สำคัญสำหรับใช้ในแบบจำลอง และก่อให้เกิดผลกระทบต่อการจำแนกประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดการชะล้างพังทลายของดิน บนพื้นที่สูงโดยประยุกต์ใช้ข้อมูลการสำรวจระยะไกล และข้อมูลภาคสนาม เพื่อทดสอบศักยภาพของ เทคนิค image processing ในการปรับแก้ ความส่องสว่างที่ไม่สม่ำเสมอ สำหรับการจำแนกสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อสังเคราะห์ค่า C-factor สำหรับใช้ในแบบจำลอง การชะล้างพังทลายของดิน (RMMF)

พื้นที่ศึกษา : ลุ่มน้ำชุน จังหวัดเพชรบูรณ์ พื้นที่โดยประมาณ 67 กม2 เป็นพื้นที่ภูเขามีความสูง 240 -1,500 เมตร -Total area 67 km2 -Average annual rainfall 1120 mm Maximum rainfall in August 230 mm Average annual temperature 28oC High altitudinal ranging from 240 in the valley bottom to maximum of 1509 m

วิธีการในการศึกษา 1. การประมาณค่า C-factor จากข้อมูลภาคสนาม 2. การปรับแก้ค่าความส่องสว่างที่ไม่สม่ำเสมอของแสง และการจำแนก สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน 3. การประมาณค่า C-factor จาก NDVI 4. การประเมินการชะล้างพังทลายของดิน

1. การประมาณค่า C-factor จากข้อมูลภาคสนาม (Renard, 1997) Forest areas Agriculture areas PLU 0.5 1

1. การประมาณค่า C-factor จากข้อมูลภาคสนาม (Renard, 1997) = ร้อยละของพื้นที่ที่ถูกปกคลุมด้วยเรือนยอด H = ความสูงของพืช

1. การประมาณค่า C-factor จากข้อมูลภาคสนาม (Renard, 1997) Sp = ร้อยละของพื้นที่ปกคลุมดิน Land use class Ru b Forest 0.4 0.05 Degraded Forest 0.25 0.025 Agriculture 0.44 0.035 Grassland 0.045 Orchard 0.34

1. การประมาณค่า C-factor จากข้อมูลภาคสนาม (Renard, 1997) Land use class Ru Forest 0.4 Degraded Forest 0.25 Agriculture 0.44 Grassland Orchard 0.34

2. การปรับแก้ค่าความส่องสว่างที่ไม่สม่ำเสมอของแสง Multi – Spectral Sensor Shadow Low illumination High illumination

2. การปรับแก้ค่าความส่องสว่างที่ไม่สม่ำเสมอของแสง Landsat TM 2007 CC. 4 5 3 March 3, 2007 Topographic Normalization Sum Normalization

ผลลัพธ์ที่ได้จากการปรับแก้ค่าความส่องสว่าง การจำแนกสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน พ.ศ. 2550 Legend After using Topographic Normalization technique Period Classification accuracy with removal of topography effect (%) Classification accuracy without correcting topographic effects (%) Topographic normalization Sum normalization 2007 74.4 69.1 67.3

3. การประมาณค่า C-factor จาก NDVI - ประมาณค่า NDVI จากภาพถ่ายดาวเทียม Landsat - ประมาณค่า C-factor โดยใช้สมการ 1. (De Jong et al., 1994) 2. (Van der Knijff et al., 1999) 3. Curve Estimation จากการหาความสัมพันธ์ระหว่าง C-factor จำนวน 138 จุดตัวอย่าง ที่ประมาณค่าจากข้อมูลสนาม และค่า NDVI

3. การประมาณค่า C-factor จาก NDVI

ผลที่ได้จากการประมาณค่า C-factor ด้วย NDVI C-factor map ที่ได้จากการประมาณค่าในแต่ละสมการ De Jong’s Van der Knijff’s Curve estimation C-factor Prediction techniques Statistical techniques Adjust R2 C.E. M.E. RMSE De Jong’s Van der Knijff’s Curve estimation 0.37 0.25 0.78 0.11 0.06 0.77 0.22 0.61 -0.04 0.23 0.62 0.03

การประเมินผล C-factor map Coefficient of Efficiency ; C.E. Root Mean Square Error ; R.M.S.E.

4. การประเมินการชะล้างพังทลายของดิน revised Morgan – Morgan - Finney - ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อประมาณค่าปริมาณการสูญเสียดินต่อปี ในพื้นที่เชิงเขาที่มีความลาดชัน - เป็นแบบจำลอง ประเภท empirical model แต่มีการใช้ ข้อมูลทางกายภาพที่สำคัญ และต้องการข้อมูลในการนำเข้าน้อย

Erosion model (RMMF)

4. การประเมินการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลที่ได้จากการประมาณค่าในภาคสนาม ถูกนำมาแทนค่าในสมการ Canopy cover (CC) Plant Height (H) C-factor

ผลการประมาณค่าจากแบบจำลอง ผลการประมาณค่าปริมาณดินที่สูญเสียต่อปี และการจำแนกความรุนแรง Land use class Area(%) Soil loss rate(t/h/y) SD. Forest Degraded Forest Agriculture Grassland Orchard 12.87 34.04 25.32 11.70 16.07 0.99 1.47 26.06 5.39 8.76 0.27 0.55 13.52 3.63 0.51 Total 100 Land use class Soil loss rate(t/h/y) Erosion prone areas Forest Degraded Forest Agriculture Grassland Orchard 0.99 1.47 26.06 5.39 8.76 Very slight Severe Slight

ผลการตรวจสอบด้วยจุดที่เกิดการชะล้างพังทลายแบบร่องธาร (Gully erosion) เปรียบเทียบ Erosion prone areas map และ จุดที่พบ Gully erosion Reference Total Gully Critical zone 14 6 No Gully 20 Overall accuracy = (14/20)x100 = 70%

สรุป เทคนิค ขจัดผลกระทบจากสภาพภูมิประเทศ (Topography effect removal) ทำให้ความถูกต้องของการจำแนกประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณพื้นที่สูง ดีขึ้น การประมาณค่า c-factor ด้วยข้อมูลภาคสนาม มีความสัมพันธ์กับค่า NDVI สามารถ นำไปใช้ในการประมาณค่า c-factor ของพื้นที่สูง ช่วยประหยัดงบประมาณและเวลาที่ใช้ในการทำงานภาคสนาม ผลลัพธ์ที่ได้จาก แบบจำลอง RMMF เมื่อนำไปจำแนกความรุนแรงและตรวจสอบกับจุดที่เกิดการชะล้างพังทลายแบบร่องธาร แล้ว ได้ผลอยู่ในเกณฑ์ดี แสดงให้เห็นว่า C-factor ที่ได้จากการประมาณค่าสามารถนำมาใช้ในแบบจำลอง RMMF ได้เป็นอย่างดี

The International Archives of the Photogrammetry, Remote Sensing and Spatial Information Sciences. Vol. XXXVII. Part B7. Beijing 2008

ขอบคุณครับ คำถาม และ ข้อเสนอแนะ ขอบคุณครับ คำถาม และ ข้อเสนอแนะ