การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
Advertisements

การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบส่งเสริมการเกษตร
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
การดำเนินงาน เพื่อดูแลคุณภาพ ชีวิตเกษตรกร โดย นางสาวมยุรี บุญญาเสนีย์กุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรม ส่งเสริมการเกษตร.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) โดย นายประสงค์ ประไพตระกูล ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเกษตรกร บรรยายในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ระดับประเทศ วันที่ 7 มีนาคม 2556 ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร(พืชสวน) จ.สมุทรสาคร 04/04/60

ความสำคัญของภาคเกษตร 04/04/60

ความสำคัญของภาคเกษตร 04/04/60

ความสำคัญของภาคเกษตร 04/04/60

ความสำคัญของภาคเกษตร 04/04/60

ปัญหาของเกษตรกรไทย - ภาคเกษตรไม่สามารถเร่งพัฒนาผลิตภาพการผลิตได้ทันต่อสภาพการแข่งขันในตลาดโลกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ความเข้มแข็งของภาคเกษตรไทยมีแนวโน้มลดลงในช่วงหลายปีที่ผ่านมา - การส่งออกหลักของภาคเกษตรยังคงอยู่ในรูปของสินค้าขั้นปฐม - เกษตรกรส่วนใหญ่ยังประสบปัญหาหนี้สินและความยากจน โดยในปี 2550 ประเทศไทยมีคนยากจน ทั้งสิ้น 5.4 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นเกษตรกร ร้อยละ 56.9 - การขาดสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน : ภาคการเกษตร - มีการอพยพเข้าสู่นอกภาคเกษตรทั้งในรูปของการเคลื่อนย้ายแบบชั่วคราวและถาวร

สถานการณ์ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวน 20,242 กลุ่ม สมาชิก จำนวน 515,950 คน คิดเป็นร้อยละ 9.5 ของประชากรภาคการเกษตรทั้งหมด (5.44 ล้านคน)

การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ให้เป็น Smart Farmer 1.สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันภายในองค์กรและชุมชน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม 2.การเชื่อมโยงเครือข่าย 3. การมีส่วนร่วม 4.การเสริมสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5.การจัดการกับทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในท้องถิ่นอย่างชาญฉลาด 6.การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมบนฐานความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

Smart Farmer คือใคร? Smart Farmer หรือเกษตรกรปราดเปรื่อง คือ บุคคลที่มี ความภูมิใจในการเป็นเกษตรกร มีความรอบรู้ในระบบการผลิตด้านการเกษตรแต่ละสาขา มีความสามารถในการวิเคราะห์ เชื่อมโยงและบริหารจัดการการผลิตและการตลาด โดยใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ คำนึงถึงคุณภาพและความปลอดภัย ของผู้บริโภค สังคมและสิ่งแวดล้อม

คุณสมบัติ ของ Smart Farmer 1. มีความรู้ในเรื่องที่ทำอยู่ 2. มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ๓. มีความตระหนักถึงคุณภาพสินค้าและความปลอดภัยของผู้บริโภค ๔. มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม / สังคม ๕. มีความภูมิใจในความเป็นเกษตรกร ๖. มีการบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด

แนวทางการขับเคลื่อนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ให้เป็น Smart Farmer ประกอบด้วย 5 แนวทาง คือ 1) แต่งตั้งคณะทำงานการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer ของกรมส่งเสริมการเกษตร/เขต/จังหวัด 2) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจการขับเคลื่อนนโยบาย Smart Farmer และ Smart Officer ของกรมส่งเสริมการเกษตร 3) การสำรวจ จำแนกและปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรเพื่อจัดทำฐานข้อมูล Smart Farmer และ Smart Officer 4) การคัดเลือกเกษตรกรต้นแบบที่มีคุณสมบัติการเป็น Smart Farmer 5) ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้การศึกษา อบรมพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร ภายใต้โครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินการอยู่แล้ว เพื่อให้บรรลุผลตามคุณสมบัติที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนด

การดำเนินงานที่สนับสนุนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ปี 2556 1.กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 1.1 พัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร (1 อำเภอ 1 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรต้นแบบ) 1) อบรมวิทยากรเกษตรกรในการถ่ายทอดความรู้ 2) จัดทำสื่อการถ่ายทอดความรู้ 3) จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนายกระดับกลุ่ม 2. เอกสารวิชาการ เรื่องการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรเกษตรกรและเคหกิจเกษตร 3.ชุมนุมแม่บ้านเกษตรกรและแสดงนิทรรศการและสินค้ากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ระดับเขต 1) ชุมนุมแม่บ้านเกษตรกรระดับเขต 2) จัดงานแสดงนิทรรศการและสินค้ากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 4. การสัมมนาเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรระดับประเทศ

สวัสดี