ระบบสื่อสัญญาณเคเบิลใยแก้ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Advertisements

อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร
การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
การประยุกต์ใช้ Web VPN (SSL VPN)
รายงานผลการดำเนินงาน ด้านบริการโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสารสนเทศ มธ.
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เรื่อง ระบบสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
บทที่ 4 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลบนโครงข่ายโทรศัพท์ ISDN
XD Card.
ระบบสารสนเทศเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Wireless Local Loop (WLL)
ISDN (Integrated Services Digital Network)
( wavelength division mux)
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ATM (Asynchronous Transfer Mode)
ส่วนที่ 2 เทคโนโลยีเครือข่าย
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
ระบบบริหารงบประมาณ และการเงิน (BIS)
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
เนื้อหา วัตถุประสงค์ของการใช้ระบบเครือข่าย
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
บริการ TOT Leased Line Internet
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
ADSL คืออะไร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
บทที่ 8 การมัลติเพล็กซ์สัญญาณ
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ISDN PABX INTEGRATED SERVICE DIGITAL NETWORK
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
การค้นในปริภูมิสถานะ
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
สายคู่บิด เกลียว ข้อดี ราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ติดตั้ง ง่าย ข้อเสีย จำกัดความเร็วใช้กับระยะทางสั้นๆ ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สื่อกลางในการสื่อ สารข้อมูลสายคู่บิดเกลียวสายใยแก้วนำแสงระบบไมโครเวฟสายโคแอกเชียลระบบดาวเทียม.
ต่อไ ป. ต่อ ไป ต่อ ไป ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็คือ ระบบ ที่เกิดจากการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ พรินเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
แบบจำลอง OSI Model.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสื่อสัญญาณเคเบิลใยแก้ว (Optical Transmission System) For Marketing and Sale Staff ธเนศ เฉลิมวัฒน์ ส่วนสื่อสัญญาณบางรัก ฝ่ายสื่อสัญญาณภาคพื้นดิน บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด(มหาชน) E-mail : lthanade@cattelecom.co.th Tel. 2598, 2906

หัวข้อบรรยาย : ระบบสื่อสัญญาณ 3 ระบบสื่อสัญญาณเคเบิลใยแก้ว 4 เครือข่ายระบบสื่อสัญญาณเคเบิลใยแก้วของ กสท 29 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/การประสานงาน 34 สรุป 35

ระบบสื่อสัญญาณ (Transmission System)

ระบบสื่อสัญญาณเคเบิลใยแก้ว (Optical Transmission System) Network สำนักงานส่วนภูมิภาค ฝ่ายโรงงาน Design Center Main PBX สำนักงานใหญ่ Sales & marketing E1 10BaseT N x E1 V35 X21 ระบบ PDH ระบบ SONET ระบบ SDH ระบบ DWDM

ระบบ PDH(Plesiochronous Digital Hierarchy) เพื่อรองรับเทคโนโลยีที่มีความเร็วสูงขึ้น โดยการนำข้อมูลที่ความเร็วต่ำกว่าส่งเข้าไปในระบบที่มีความเร็วสูงกว่า เป็นระบบสื่อสัญญาณดิจิตอลความเร็วสูงระบบแรก ที่ใช้งานมานานกว่า 20 ปี สามารถใช้งานผ่านตัวกลางต่างๆได้เช่น สายโคแอคเชียล สายเคเบิลใยแก้ว และระบบวิทยุไมโครเวฟ เป็นต้น ระบบ PDH มีอยู่ 3 มาตรฐาน คือ: มาตรฐานอเมริกาเหนือ มาตรฐานยุโรป(ประเทศไทยใช้ตามมาตรฐานนี้) มาตรฐานญี่ป่น

ระบบ PDH มาตรฐานอเมริกาเหนือ PDH Hierarchy (North AMERICA) ลำดับชั้น จำนวนช่องสัญญาณ อัตราบิตข้อมูล(Mbps) 1(DS-1) 24 1.544 2(DS-2) 96 6.312 3(DS-3) 672 44.736 4(DS-4) 4,032 274.176 5(DS-5) 8,064 584.352 USA CANADA 1 24 PCM 4 MUX 7 1,544 Mbits 6,312 Mbits 44,736 Mbits

ระบบ PDH มาตรฐานยุโรป ลำดับชั้น จำนวนช่องสัญญาณ อัตราบิตข้อมูล(Mbps) PDH Hierarchy (EUROPE) ลำดับชั้น จำนวนช่องสัญญาณ อัตราบิตข้อมูล(Mbps) 1(E1) 30 2.048 2(E2) 120 8.448 3(E3) 480 34.368 4(E4) 1,920 139.264 5 7,680 565.148 EUROPE SOUTH AMERICA BRASIL & ASIA 1 30 PCM 4 MUX 2/8 8/34 34/140 2,048 Mbits 8,448 Mbits 34,368 Mbits 139,264 Mbits

ระบบ PDH มาตรฐานญี่ปุ่น PDH Hierarchy (JAPAN) ลำดับชั้น จำนวนช่องสัญญาณ อัตราบิตข้อมูล(Mbps) 1 24 1.544 2 96 6.312 3 480 32.064 4 1,440 97.728 5 5,760 400.352 JAPAN 1 24 PCM 4 MUX 5 1,544 Mbits 6,312 Mbits 32,064 Mbits 97,728 Mbits

ระบบ SONET(Synchronous Optical Network) เป็นมาตรฐานเครือข่ายระบบสื่อสัญญาณผ่านเส้นใยแก้วนำแสงของกลุ่มประเทศอเมริกาเหนือ วัตถุประสงค์ของระบบ SONET - ทำให้มีมาตรฐานการเชื่อมต่อสัญญาณแสง - เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นในการใช้งาน - มีระบบบริหารจัดการเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ เริ่มใช้งานในปี พ.ศ. 2531 อัตราบิตข้อมูลพื้นฐาน(STS-1) = 51.84 Mbps

ระบบ SDH (Synchronous Digital Hierarchy) DWDM ระบบ SDH เป็นระบบสื่อสัญญาณเคเบิล ใยแก้วนำแสงสมัยใหม่ ที่ใช้เป็นมาตรฐานทั่วโลก พัฒนามาจากแนวความคิดของระบบ SONET เริ่มใช้งานในปี พ.ศ. 2533 สามารถรับส่งข้อมูลได้ทั้งมาตรฐาน อเมริกาและยุโรป อัตราความเร็วข้อมูลพื้นฐานที่ 155.52 Mbps (STM-1) Core Network SDH Metro Network SDH Access Network

ข้อดีของระบบ SDH มีโครงสร้างการมัลติเพล็กซ์ที่ ไม่ยุ่งยากซับซ้อน 1.544 Mbps 2.048 44.736 34.368 139.264 6.132 VC-11 VC-12 VC-2 VC-3 VC-4 STM-1 STM-4 STM-16 N x 64 kbps 2 Mbps 140 Mbps 34 Mbps CIRCUIT LAYERS PDH PATH LAYER SDH LOWER ORDER PATH LAYER SDH HIGHER ORDER มีโครงสร้างการมัลติเพล็กซ์ที่ ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถใช้งานร่วมกันระหว่าง อุปกรณ์ต่างยี่ห้อได้ รองรับการใช้งานกับระบบสื่อสัญญาณ ที่มีอยู่เดิมได้(ระบบ PDH) มีโครงสร้างที่รองรับการใช้งาน ในอนาคตได้ มีระบบบริหารจัดการโครงข่ายที่ สามารถควบคุมได้ที่ศูนย์กลาง

อัตราความเร็วข้อมูลระบบ PDH และ SDH ยุโรป 2.048 Mb/s 8.448 Mb/s 34.368 Mb/s 139.264 Mb/s อเมริกาเหนือ 1.544 Mb/s 6.312 Mb/s 44.736 Mb/s ญี่ปุ่น 1.544 Mb/s 6.312 Mb/s 32.064 Mb/s 97.728 Mb/s PDH G.703 อัตราความเร็วของระบบ SDH เรียกว่า STM-N (Synchronous Transport Module-N) N= 1, 4, 16, 64 …ตามข้อกำหนดของ ITU-T STM-1 155.520 Mb/s STM-4 622.080 Mb/s SDH G.707 STM-16 2,488.320 Mb/s STM-64 9,953.280 Mb/s

อุปกรณ์ระบบ SDH Terminal Multiplexer (TM): เป็นอุปกรณ์มัลติเพล็กเซอร์ชนิดปลายทาง Add/Drop Multiplexer (ADM):เป็นอุปกรณ์มัลติเพล็กเซอร์ที่ สามารถทำการนำสัญญาณข้อมูลใส่เข้าไปในระบบและนำออกจากระบบได้ รวมถึงสามารถส่งผ่านจากด้านหนึ่งไปยัง Regenerator (REG): เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับขยายสัญญาณเพื่อให้ การติดต่อสื่อสารมีระยะทางมากขึ้น Synchronous Digital Cross Connect (SDXC): เป็นอุปกรณ์ที่สามารถนำสัญญาณข้อมูลใส่เข้าไปในระบบและนำออกจากระบบได้ในทุกๆขนาดสัญญาณ ซึ่งมีความยืดหยุ่นมากกว่า ADM

อุปกรณ์ Terminal Multiplexer 2 Mb/s 140 Mb/s 34 Mb/s 8 Mb/s 2 Mb/s PDH Aggregate STM-1 TM-1 2 Mb/s SDH

อุปกรณ์ ADM SDH STM-1 STM-1 ADM PDH 140 Mbps 2 Mbps Switch

อุปกรณ์ SDXC SDXC PDH SDH Manual Distribution Frame Optical, Copper, Microwave, Terminal, &MUX SDXC Manual Distribution Frame

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายระบบ SDH ADM Ring Point-to-Point Regenerator TM TM Star SDXC TM Chain TE ADM Add/Drop MUX TM

โครงสร้างการมัลติเพล็กซ์สัญญาณ SDH LO Path HO Path HO Path Section Section M A P L O T E H S LTM DXC 2 Mb/s STM-n