บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
Advance Excel.
SYRUS Securities PLC. ก้าวสู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ SYRUS Securities PLC.
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
Statement of Cash Flows
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 1 อัตราส่วน.
อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
MARKET PLANNING DECISION
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
ระบบบัญชี.
งบลงทุน Capital Budgeting
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
สินค้าคงเหลือ.
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
ตัวแทนรวบรวมเอกสาร CAT CDMA. คุณสมบัติของตัวแทนฯ  เป็นนิติบุคคล  ทุนจดทะเบียนไม่ต่ำกว่า 400,000 บาท  ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับระบบสื่อสารหรือ คอมพิวเตอร์
Option Risk Managemetn
Risk Management Strategy
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การรวมธุรกิจ.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
วิชาระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1) หลักการเงิน (00920208) บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)

ผลตอบแทน วัตถุประสงค์ของการประกอบธุรกิจ - เพื่อทำให้มูลค่ากิจการสูงสุด การพิจารณาผลตอบแทน = พิจารณาจากกระแสเงินสดจากการลงทุนนั้นๆ ไม่ใช่กำไรทางบัญชี

อัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทน = (เงินสดรับปลายงวด - เงินลงทุนต้นงวด + เงินสดรับระหว่างงวด) เงินลงทุนต้นงวด ตัวอย่าง ถ้านาย ก.ลงทุนซื้อหุ้นของบริษัท ABC ในราคาหุ้นละ 80 บาท ถือไว้ครบ 1 ปี ได้รับเงินปันผลหุ้นละ 2 บาท และสิ้นปีขายหุ้น ต่อได้ในราคาหุ้นละ 86 บาท อัตราผลตอบแทน = (86-80+2)/80 = 0.10 หรือ 10%

ความเสี่ยง ความเสี่ยงทางธุรกิจ (business risk) ความเสี่ยงทางการเงิน (financial risk) ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย (interest rate risk) ความเสี่ยงในอำนาจซื้อ (purchasing power risk) ความเสี่ยงของอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนต่อ (reinvestment rate risk)

อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง E(x) = p1x1 + p2x2 + … +pnxn E(x) - มูลค่าผลตอบแทนที่คาดหวัง (expected return) t - สภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น (t = 1 … n) n - จำนวนผลที่จะเกิดขึ้นตามสภาพเหตุการณ์ต่างๆกัน pt - ความน่าจะเป็นของผลที่ t จะเกิดขึ้น xt - มูลค่าของผลตอบแทนตามสภาพเหตุการณ์ที่ t ที่เกิดขึ้น

การวัดความเสี่ยง ตัวอย่าง นายดีเสมอกำลังพิจารณาการลงทุนผลิตสินค้า 2 ชนิด คือสินค้าก. และ ข. มีข้อมูลต่างๆ ประกอบการ พิจารณาดังนี้ สภาพการณ์ สินค้า ก. สินค้า ข. Pt Xt ประสบความสำเร็จดี ประสบความสำเร็จปานกลาง ประสบความสำเร็จน้อย 25% 50% 30% 15% 5% 20% 35% 5.5%

การวัดความเสี่ยง คำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง สภาพการณ์ สินค้า ก. สินค้า ข. Pt Xt PtXt ประสบความสำเร็จดี ประสบความสำเร็จปานกลาง ประสบความสำเร็จน้อย อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง 0.25 0.50 0.30 0.15 0.05 0.20 0.350 0.150 0.055

ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ(x) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็นการวัดความเบี่ยงเบนของผลที่อาจจะเกิดขึ้นในแต่ละกรณีจากมูลค่าที่คาดหวังไว้ ถ้าค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานยิ่งสูง ยิ่งแสดงถึงความเบี่ยงเบนที่กว้างของผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากมูลค่าที่คาดหวังไว้

ขั้นตอนการคำนวณ ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน คำนวณมูลค่าผลตอบแทนที่คาดหวังไว้ E(X) คำนวณส่วนที่เบี่ยงเบนของผลที่อาจจะเกิดขึ้นแต่ละกรณีจากมูลค่าที่คาดหวังไว้ [Xt – E(X)] ยกกำลัง 2 ค่าความเบี่ยงเบนแต่ละค่า [Xt – E(x)]2 ถ่วงน้ำหนักค่าความเบี่ยงเบนยกกำลังสอง Pt[Xt – E(X)]2 รวมค่าถ่วงน้ำหนักที่ได้จากข้อ 4 เข้าด้วยกัน เรียกว่า ค่าความแปรปรวน (variance) ของผลที่อาจเกิดขึ้น σ2(x) ถอดรากที่ 2 ของผลที่ได้จากข้อ 5 จะได้ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ(x) = √σ2(x)

ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน สินค้า ก. สภาพเหตุการณ์ (1) Pt (2) Xt (3) = (1)(2) PtXt (4) Xt - E(X) (5)=(4)2 [Xt- E(X)]2 (6) Pt[Xt-E(x)]2 ดี ปานกลาง ล้มเหลว 25% 50% 30% 15% 5% E(X) = 0.0750 0.0125 0.1625 σ2(X)= σ(X)=

ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน สินค้า ข. สภาพเหตุการณ์ (1) Pt (2) Xt (3) = (1)(2) PtXt (4) Xt - E(X) (5)=(4)2 [Xt- E(X)]2 (6) Pt[Xt-E(x)]2 ดี ปานกลาง ล้มเหลว 30% 20% 50% 35% 15% 5.5% E(X) = 0.1050 0.0300 0.0275 0.1625 σ2(X)= σ(X)=

สรุปผลการคำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสินค้าก สรุปผลการคำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสินค้าก. และข. รายการ อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราผลตอบแทนที่อาจจะเกิดขึ้น สินค้า ก. 16.25% 8.94% สินค้า ข. 12.81%