ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
ผลสำเร็จการดำเนินการ การดำเนินการในระยะต่อไป
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กลุ่มการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ด้อยโอกาส สำนักส่งเสริมและพิทักษ์
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
“เยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์”
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
แผนที่ยุทธศาสตร์ของ สท. 2558
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
และค่าเป้าหมายรายบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นำเสนอโดย..........ผอ.สท....... วันที่. .มิ.ย. 2555

หลักการและเหตุผลความจำเป็น หลักการสำคัญ สท.เป็นหน่วยงานเชิงนโยบายและควบคู่การปฏิบัติต่อการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ โดยมีกระบวนการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน(การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า เด็ก และเยาวชนเป็นบุคคลที่มีศักยภาพ และเป็นหุ้นส่วนของสังคม จะต้องมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน และร่วมดำเนินการป้องกัน แก้ไขปัญหา และเป็นศูนย์กลาง/กลไกในการประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรภาคีเครือข่าย เพื่อจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ในการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนมีทุกระดับ ได้แก่ สภาเด็กและเยาวชนระดับตำบล /อำเภอ(878 อำเภอ) /จังหวัด (76 จังหวัด)ซึ่งการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนระดับตำบล เป็นการพัฒนาศักยภาพเยาวชนจากจุดเล็กๆในตำบล ซึ่งเป็นพลังที่ยั่งยืนในการพัฒนาประเทศไทย ระบุความสำคัญ ผลกระทบ และความรุนแรงของปัญหาที่เกิดขึ้น ในการดำเนินงานการเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน ในระดับตำบล /อำเภอ และจังหวัด จะต้องมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้สภาเด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และช่องทางการดำเนินงาน รวมทั้งงบประมาณ ในการขับเคลื่อนงาน

หลักการและเหตุผลความจำเป็น ปัญหาที่เกิดขึ้น ในกรณีการส่งเสริมและสนับสนุนให้สภาเด็กและเยาวชน ในระดับตำบล /อำเภอ และจังหวัด ให้เกิดความเข้มแข็ง มีการดำเนินงานดังนี้ 1.การให้ความรู้เรื่องการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่สร้างสรรค์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงชีวิตความเป็นอยู่ สภาพสังคม หรือสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นกว่าเดิม 2.การสร้างความเข้าใจ และความสามารถ ในการขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 3.การสนับสนุนงบประมาณ การขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 4.การติดตามและประเมินผล ซึ่ง ทั้ง 3 กิจกรรม ข้างต้น เป็นขั้นตอนกระบวนการที่ สท. มอบหมาย ให้ พมจ.เป็นผู้ดำเนินการ โดย สท.มีบทบาท เข้าไปมีส่วนร่วม ในการสร้างความเข้าใจ ในภาพรวมของกิจกรรมการสนับสนุนการดำเนินงาน ให้กับผู้แทน ของ พมจ./อบต. และผู้แทน ของสภาเด็กและเยาวชน และในกิจกรรมที่ 3 เป็นการสนับสนุนงบประมาณ โดย สท.โอนงบประมาณ ให้กับ พมจ.เป็นผู้ดำเนินการ จัดสรร งบประมาณให้กับ สภาเด็กและเยาวชน ตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จากนั้น พมจ.จัดทำรายงานผลการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน โดยที่ สท.ไม่สามารถเข้าไปควบคุม การจัดสรรงบประมาณให้สภาเด็กและเยาวชนของ พมจ. และการดำเนินกิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชน ในพื้นที่ ดังนั้น สท. จึงเห็นความสำคัญในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน(การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) เพื่อที่จะทำให้สภาเด็กและเยาวชนและประชาชนได้รับรู้ เข้าใจ ตรวจสอบ การสนับสนุนงบประมาณได้อย่างชัดเจน และผู้รับการสนับสนุนต้องดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ และโปร่งใส 3

การคัดเลือกกระบวนงานที่จะนำมาพัฒนาเพื่อสร้างความโปร่งใส ลำ ดับ กระบวนงานหลักของหน่วยงาน เป็นกระบวนงานที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดการทุจริตคอร์รัปชั่น ลักษณะของกระบวนงาน เกี่ยวข้องกับการให้บริการต่อประชาชนโดยตรง มีผลกระทบต่อสิทธิของประชาชน ก่อให้เกิดส่วนได้ส่วนเสียต่อประชาชนสูง 1 กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเด็ก  2 กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน 3 กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส 4 กระบวนการขับเคลื่อนมาตรฐานการส่งเสริมและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ 5 กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย หมายเหตุ : นอกจากลักษณะของกระบวนงานที่กำหนดแล้ว หน่วยงานสามารถกำหนดเกณฑ์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น เป็นกระบวนงานที่ เกี่ยวข้องกับการอนุมัติอนุญาต หรือเป็นกระบวนงานที่มีข้อร้องเรียนจากประชาชนสูง เป็นต้น ตลอดจนอาจให้น้ำหนักความสำคัญในแต่ ละเกณฑ์แตกต่างกันไปตามบริบทของหน่วยงานและลักษณะงานที่ปฏิบัติ

ปัญหา/ความเสี่ยงในการเกิดทุจริตคอร์รัปชั่น ความรุนแรงของผลกระทบ การระบุปัญหาของกระบวนงาน กระบวนงาน : กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ลำดับ ขั้นตอนการดำเนินงาน1 ปัญหา/ความเสี่ยงในการเกิดทุจริตคอร์รัปชั่น โอกาสที่จะเกิด ความรุนแรงของผลกระทบ คะแนน2 (โอกาส xความรุนแรง) สูง (3) กลาง (2) ต่ำ (1) 1 สท. พิจารณาจัดสรรและโอนเงินงบประมาณให้ พมจ.ทุกจังหวัด การพิจารณาจัดสรรงบประมาณของ สท.ให้ พมจ. ตามหลักเกณฑ์  2 พมจ.ทุกจังหวัด ให้ความรู้ แนวทาง และการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กับสภาเด็กและเยาวชน ในพื้นที่ พมจ.ดำเนินการตามรูปแบบการส่งเสริมสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชน 4 3 สภาเด็กและเยาวชน จัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม พร้อมของบประมาณจาก พมจ. ที่ สท.ได้จัดสรรให้ พมจ.จัดสรร งบประมาณ ตามแผนงาน/โครงการ โดย สท.ไม่สามารถกำกับการจัดสรรได้ 9 พมจ. รับรายงานผลและรายงานส่งต่อ สท. เจ้าหน้าที่ พมจ.และเจ้าหน้าที่ สท.ไม่ได้ลงพื้นที่ได้ทุกพื้นที่ รวม 18 หมายเหตุ : 1. อาจใช้ขั้นตอนการดำเนินงานที่มีอยู่ใน PMQA (PM3) 2. ให้เลือกปัญหาที่มีคะแนนสูงสุดมาดำเนินการต่อในขั้นตอนที่ 2.2 ในกรณีที่คะแนนเท่ากันให้กำหนดเกณฑ์อื่น ๆ เพื่อคัดเลือก

ความรุนแรงของผลกระทบ วิเคราะห์ปัญหาของกระบวนงาน กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) สูง ปัญหาหลักที่จะดำเนินการแก้ไข พมจ.จัดสรร งบประมาณ ตามแผนงาน/โครงการ โดย สท.ไม่สามารถกำกับการจัดสรรได้ -พมจ.ดำเนินการตามรูปแบบการส่งเสริมสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชน -เจ้าหน้าที่ พมจ.และเจ้าหน้าที่ สท.ไม่ได้ลงพื้นที่ได้ทุกพื้นที่ โอกาส ที่จะเกิด - การพิจารณาจัดสรรงบประมาณของ สท.ให้ พมจ. ตามหลักเกณฑ์ -การพิจารณาจัดสรรงบประมาณของ สท.ให้ พมจ. ตามหลักเกณฑ์ ต่ำ สูง ต่ำ ความรุนแรงของผลกระทบ หมายเหตุ : หากมีประเด็นปัญหาที่มีโอกาสและความรุนแรงของผลกระทบสูงมากกว่า 1 ประเด็น จะต้องนำทุกประเด็นมาดำเนินการหาแนวทางแก้ไข 6

การวิเคราะห์ปัญหาของกระบวนงาน กระบวนงาน : กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ผลกระทบของปัญหา ปัญหาหลัก สาเหตุ ของ ปัญหา ภาพลักษณ์ของ หน่วยงาน พมจ.และ สท. เสียหาย ขาดความเชื่อมั่น สภาเด็กและเยาวชน ไม่ได้รับงบประมาณเต็มตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม สภาเด็กและเยาวชนดำเนินกิจกรรมไม่ได้เต็มศักยภาพ พมจ.จัดสรร งบประมาณ ตามแผนงาน/โครงการ โดย สท.ไม่สามารถกำกับการจัดสรรได้ เจ้าหน้าที่มีจำนวนจำกัดและไม่มีกลไกในพื้นที่ควบคุม เจ้าหน้าที่ พมจ.พิจารณาตามแผนและการใช้ดุลยพินิจควบคู่ สภาเด็กและเยาวชนไม่เข้าใจการใช้จ่ายงบประมาณทั้งหมด หมายเหตุ : หน่วยงานอาจใช้เทคนิคอื่น ๆ ในการวิเคราะห์ปัญหาได้ เช่น Mind Map หรือแผนภูมิก้างปลา เป็นต้น

แนวทางในการแก้ไขปัญหา/ป้องกันความเสี่ยง กระบวนงาน : กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ผลกระทบของปัญหา ปัญหาหลัก สาเหตุ ของ ปัญหา สภาเด็กและเยาวชน และประชาชน ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ ได้รับการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิอย่างเต็มที่ ภาพลักษณ์ของ พมจ.และ สท. ดีขึ้นเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธา เชื่อถือ สภาเด็กและเยาวชน เห็นคุณค่าของการส่งเสริมสนับสนุน และเกิดแรงผลักดันการขับเคลื่อนงานอย่างเต็มศักยภาพ สภาเด็กและเยาวชน ได้รับงบประมาณ เต็มตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จัดเจ้าหน้าที่ กำกับดูแล ติดตาม การดำเนินงาน/กิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการ ในพื้นที่ จัดตั้ง(สร้างเสริมกลไก)ในรูปคณะกรรมการ พิจารณาการจัดสรรงบประมาณ ของ พมจ. สร้างเสริมความรู้/ความเข้าใจ ระดับภาค/ระดับจังหวัด/ระดับพื้นที่ หมายเหตุ : หน่วยงานอาจใช้เทคนิคอื่น ๆ ในการวิเคราะห์ปัญหาได้ เช่น Mind Map หรือแผนภูมิก้างปลา เป็นต้น 8

สิ่งที่ต้องดำเนินการ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แนวทางในการแก้ไขปัญหา/ ป้องกันความเสี่ยง กระบวนงาน : กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ปัญหาหลัก : ประชาชนได้รับเงินครบถ้วนตามสิทธิ แต่ล่าช้า และประชาชนเข้าใจผิดเรื่องการจ่ายเงิน ผลที่คาดว่าจะได้รับ : แนวทางแก้ไขปัญหา สิ่งที่ต้องดำเนินการ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย การพัฒนาบุคลากร จัดเจ้าหน้าที่ กำกับดูแล ติดตาม การดำเนินงาน/กิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการ ในพื้นที่ จำนวนเจ้าหน้าที่ที่มีประสิทธิภาพในการกำกับดูแล ติดตาม การดำเนินงาน/กิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการ ในพื้นที่ มากขึ้น การเสริมพลังประชาชน/ ผู้รับบริการ (Empowerment) สร้างเสริมความรู้/ความเข้าใจ ระดับภาค/ระดับจังหวัด/ระดับพื้นที่ 1.จำนวนสภาเด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ รับทราบ และเข้าใจมากขึ้น 2.ระดับความพึงพอใจของสภาเด็กและเยาวชนมากขึ้น การพัฒนาเครื่องมือดำเนินการ จัดตั้ง(สร้างเสริมกลไก)ในรูปคณะกรรมการ พิจารณาการจัดสรรงบประมาณ ของ พมจ. จำนวนกลไก(คณะกรรมการ)ที่มีบทบาทการพิจารณาจัดสรรงบประมาณมากขึ้น