ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ นำเสนอโดย..........ผอ.สท....... วันที่. .มิ.ย. 2555
หลักการและเหตุผลความจำเป็น หลักการสำคัญ สท.เป็นหน่วยงานเชิงนโยบายและควบคู่การปฏิบัติต่อการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ โดยมีกระบวนการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน(การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า เด็ก และเยาวชนเป็นบุคคลที่มีศักยภาพ และเป็นหุ้นส่วนของสังคม จะต้องมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน และร่วมดำเนินการป้องกัน แก้ไขปัญหา และเป็นศูนย์กลาง/กลไกในการประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรภาคีเครือข่าย เพื่อจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ในการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนมีทุกระดับ ได้แก่ สภาเด็กและเยาวชนระดับตำบล /อำเภอ(878 อำเภอ) /จังหวัด (76 จังหวัด)ซึ่งการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนระดับตำบล เป็นการพัฒนาศักยภาพเยาวชนจากจุดเล็กๆในตำบล ซึ่งเป็นพลังที่ยั่งยืนในการพัฒนาประเทศไทย ระบุความสำคัญ ผลกระทบ และความรุนแรงของปัญหาที่เกิดขึ้น ในการดำเนินงานการเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน ในระดับตำบล /อำเภอ และจังหวัด จะต้องมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้สภาเด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และช่องทางการดำเนินงาน รวมทั้งงบประมาณ ในการขับเคลื่อนงาน
หลักการและเหตุผลความจำเป็น ปัญหาที่เกิดขึ้น ในกรณีการส่งเสริมและสนับสนุนให้สภาเด็กและเยาวชน ในระดับตำบล /อำเภอ และจังหวัด ให้เกิดความเข้มแข็ง มีการดำเนินงานดังนี้ 1.การให้ความรู้เรื่องการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่สร้างสรรค์ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงชีวิตความเป็นอยู่ สภาพสังคม หรือสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นกว่าเดิม 2.การสร้างความเข้าใจ และความสามารถ ในการขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 3.การสนับสนุนงบประมาณ การขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 4.การติดตามและประเมินผล ซึ่ง ทั้ง 3 กิจกรรม ข้างต้น เป็นขั้นตอนกระบวนการที่ สท. มอบหมาย ให้ พมจ.เป็นผู้ดำเนินการ โดย สท.มีบทบาท เข้าไปมีส่วนร่วม ในการสร้างความเข้าใจ ในภาพรวมของกิจกรรมการสนับสนุนการดำเนินงาน ให้กับผู้แทน ของ พมจ./อบต. และผู้แทน ของสภาเด็กและเยาวชน และในกิจกรรมที่ 3 เป็นการสนับสนุนงบประมาณ โดย สท.โอนงบประมาณ ให้กับ พมจ.เป็นผู้ดำเนินการ จัดสรร งบประมาณให้กับ สภาเด็กและเยาวชน ตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จากนั้น พมจ.จัดทำรายงานผลการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน โดยที่ สท.ไม่สามารถเข้าไปควบคุม การจัดสรรงบประมาณให้สภาเด็กและเยาวชนของ พมจ. และการดำเนินกิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชน ในพื้นที่ ดังนั้น สท. จึงเห็นความสำคัญในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน(การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) เพื่อที่จะทำให้สภาเด็กและเยาวชนและประชาชนได้รับรู้ เข้าใจ ตรวจสอบ การสนับสนุนงบประมาณได้อย่างชัดเจน และผู้รับการสนับสนุนต้องดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ และโปร่งใส 3
การคัดเลือกกระบวนงานที่จะนำมาพัฒนาเพื่อสร้างความโปร่งใส ลำ ดับ กระบวนงานหลักของหน่วยงาน เป็นกระบวนงานที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดการทุจริตคอร์รัปชั่น ลักษณะของกระบวนงาน เกี่ยวข้องกับการให้บริการต่อประชาชนโดยตรง มีผลกระทบต่อสิทธิของประชาชน ก่อให้เกิดส่วนได้ส่วนเสียต่อประชาชนสูง 1 กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเด็ก 2 กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน 3 กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส 4 กระบวนการขับเคลื่อนมาตรฐานการส่งเสริมและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ 5 กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย หมายเหตุ : นอกจากลักษณะของกระบวนงานที่กำหนดแล้ว หน่วยงานสามารถกำหนดเกณฑ์อื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น เป็นกระบวนงานที่ เกี่ยวข้องกับการอนุมัติอนุญาต หรือเป็นกระบวนงานที่มีข้อร้องเรียนจากประชาชนสูง เป็นต้น ตลอดจนอาจให้น้ำหนักความสำคัญในแต่ ละเกณฑ์แตกต่างกันไปตามบริบทของหน่วยงานและลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ปัญหา/ความเสี่ยงในการเกิดทุจริตคอร์รัปชั่น ความรุนแรงของผลกระทบ การระบุปัญหาของกระบวนงาน กระบวนงาน : กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ลำดับ ขั้นตอนการดำเนินงาน1 ปัญหา/ความเสี่ยงในการเกิดทุจริตคอร์รัปชั่น โอกาสที่จะเกิด ความรุนแรงของผลกระทบ คะแนน2 (โอกาส xความรุนแรง) สูง (3) กลาง (2) ต่ำ (1) 1 สท. พิจารณาจัดสรรและโอนเงินงบประมาณให้ พมจ.ทุกจังหวัด การพิจารณาจัดสรรงบประมาณของ สท.ให้ พมจ. ตามหลักเกณฑ์ 2 พมจ.ทุกจังหวัด ให้ความรู้ แนวทาง และการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กับสภาเด็กและเยาวชน ในพื้นที่ พมจ.ดำเนินการตามรูปแบบการส่งเสริมสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชน 4 3 สภาเด็กและเยาวชน จัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม พร้อมของบประมาณจาก พมจ. ที่ สท.ได้จัดสรรให้ พมจ.จัดสรร งบประมาณ ตามแผนงาน/โครงการ โดย สท.ไม่สามารถกำกับการจัดสรรได้ 9 พมจ. รับรายงานผลและรายงานส่งต่อ สท. เจ้าหน้าที่ พมจ.และเจ้าหน้าที่ สท.ไม่ได้ลงพื้นที่ได้ทุกพื้นที่ รวม 18 หมายเหตุ : 1. อาจใช้ขั้นตอนการดำเนินงานที่มีอยู่ใน PMQA (PM3) 2. ให้เลือกปัญหาที่มีคะแนนสูงสุดมาดำเนินการต่อในขั้นตอนที่ 2.2 ในกรณีที่คะแนนเท่ากันให้กำหนดเกณฑ์อื่น ๆ เพื่อคัดเลือก
ความรุนแรงของผลกระทบ วิเคราะห์ปัญหาของกระบวนงาน กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) สูง ปัญหาหลักที่จะดำเนินการแก้ไข พมจ.จัดสรร งบประมาณ ตามแผนงาน/โครงการ โดย สท.ไม่สามารถกำกับการจัดสรรได้ -พมจ.ดำเนินการตามรูปแบบการส่งเสริมสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชน -เจ้าหน้าที่ พมจ.และเจ้าหน้าที่ สท.ไม่ได้ลงพื้นที่ได้ทุกพื้นที่ โอกาส ที่จะเกิด - การพิจารณาจัดสรรงบประมาณของ สท.ให้ พมจ. ตามหลักเกณฑ์ -การพิจารณาจัดสรรงบประมาณของ สท.ให้ พมจ. ตามหลักเกณฑ์ ต่ำ สูง ต่ำ ความรุนแรงของผลกระทบ หมายเหตุ : หากมีประเด็นปัญหาที่มีโอกาสและความรุนแรงของผลกระทบสูงมากกว่า 1 ประเด็น จะต้องนำทุกประเด็นมาดำเนินการหาแนวทางแก้ไข 6
การวิเคราะห์ปัญหาของกระบวนงาน กระบวนงาน : กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ผลกระทบของปัญหา ปัญหาหลัก สาเหตุ ของ ปัญหา ภาพลักษณ์ของ หน่วยงาน พมจ.และ สท. เสียหาย ขาดความเชื่อมั่น สภาเด็กและเยาวชน ไม่ได้รับงบประมาณเต็มตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม สภาเด็กและเยาวชนดำเนินกิจกรรมไม่ได้เต็มศักยภาพ พมจ.จัดสรร งบประมาณ ตามแผนงาน/โครงการ โดย สท.ไม่สามารถกำกับการจัดสรรได้ เจ้าหน้าที่มีจำนวนจำกัดและไม่มีกลไกในพื้นที่ควบคุม เจ้าหน้าที่ พมจ.พิจารณาตามแผนและการใช้ดุลยพินิจควบคู่ สภาเด็กและเยาวชนไม่เข้าใจการใช้จ่ายงบประมาณทั้งหมด หมายเหตุ : หน่วยงานอาจใช้เทคนิคอื่น ๆ ในการวิเคราะห์ปัญหาได้ เช่น Mind Map หรือแผนภูมิก้างปลา เป็นต้น
แนวทางในการแก้ไขปัญหา/ป้องกันความเสี่ยง กระบวนงาน : กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ผลกระทบของปัญหา ปัญหาหลัก สาเหตุ ของ ปัญหา สภาเด็กและเยาวชน และประชาชน ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ ได้รับการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิอย่างเต็มที่ ภาพลักษณ์ของ พมจ.และ สท. ดีขึ้นเกิดความเชื่อมั่น ศรัทธา เชื่อถือ สภาเด็กและเยาวชน เห็นคุณค่าของการส่งเสริมสนับสนุน และเกิดแรงผลักดันการขับเคลื่อนงานอย่างเต็มศักยภาพ สภาเด็กและเยาวชน ได้รับงบประมาณ เต็มตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จัดเจ้าหน้าที่ กำกับดูแล ติดตาม การดำเนินงาน/กิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการ ในพื้นที่ จัดตั้ง(สร้างเสริมกลไก)ในรูปคณะกรรมการ พิจารณาการจัดสรรงบประมาณ ของ พมจ. สร้างเสริมความรู้/ความเข้าใจ ระดับภาค/ระดับจังหวัด/ระดับพื้นที่ หมายเหตุ : หน่วยงานอาจใช้เทคนิคอื่น ๆ ในการวิเคราะห์ปัญหาได้ เช่น Mind Map หรือแผนภูมิก้างปลา เป็นต้น 8
สิ่งที่ต้องดำเนินการ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แนวทางในการแก้ไขปัญหา/ ป้องกันความเสี่ยง กระบวนงาน : กระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ปัญหาหลัก : ประชาชนได้รับเงินครบถ้วนตามสิทธิ แต่ล่าช้า และประชาชนเข้าใจผิดเรื่องการจ่ายเงิน ผลที่คาดว่าจะได้รับ : แนวทางแก้ไขปัญหา สิ่งที่ต้องดำเนินการ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย การพัฒนาบุคลากร จัดเจ้าหน้าที่ กำกับดูแล ติดตาม การดำเนินงาน/กิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการ ในพื้นที่ จำนวนเจ้าหน้าที่ที่มีประสิทธิภาพในการกำกับดูแล ติดตาม การดำเนินงาน/กิจกรรม ตามแผนงาน/โครงการ ในพื้นที่ มากขึ้น การเสริมพลังประชาชน/ ผู้รับบริการ (Empowerment) สร้างเสริมความรู้/ความเข้าใจ ระดับภาค/ระดับจังหวัด/ระดับพื้นที่ 1.จำนวนสภาเด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ รับทราบ และเข้าใจมากขึ้น 2.ระดับความพึงพอใจของสภาเด็กและเยาวชนมากขึ้น การพัฒนาเครื่องมือดำเนินการ จัดตั้ง(สร้างเสริมกลไก)ในรูปคณะกรรมการ พิจารณาการจัดสรรงบประมาณ ของ พมจ. จำนวนกลไก(คณะกรรมการ)ที่มีบทบาทการพิจารณาจัดสรรงบประมาณมากขึ้น