สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก การฝึกอบรมหลักสูตรพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
ความเป็นมา พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ พนักงานเจ้าหน้าที่ฯ ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ผู้กระทำผิด
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจ อำนาจและหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ตลอดจน กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องและสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ และทักษะใน การให้ความช่วยเหลือและคุ้มครอง ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ รวมทั้ง ทักษะการทำงานในรูปแบบสหวิชาชีพ
วัตถุประสงค์ (ต่อ) เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือระหว่างผู้ปฏิบัติงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตาม กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์และ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ กลุ่มเป้าหมาย ข้าราชการที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ และมีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง
คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็น กฎกระทรวง คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ 1. เป็นข้าราชการไม่ต่ำกว่าข้าราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ 2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 3. เคยปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 1 ปี 4. มีความประพฤติเหมาะสม (หัวหน้าหน่วยงานรับรอง) 5. ผ่านการอบรมในหลักสูตรที่ ปพม.กำหนดและผ่านการประเมินจากคณะกรรมการประเมินที่ ปพม.แต่งตั้ง
เนื้อหาหลักสูตร แบ่งเป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ พื้นฐาน นโยบายและกลไกการดำเนินงาน สิทธิมนุษยชน มิติทางสังคม วัฒนธรรม และมิติหญิงชาย
ส่วนที่ ๒ วิชาแกนหลัก ความหมาย การคัดแยก พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ บทบาทพนักงานเจ้าหน้าที่ฯ การปฏิบัติงานในรูปแบบสหวิชาชีพ ส่วนที่ ๓ วิชาประกอบ กฎ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวปฏิบัติในการสืบสวนสอบสวนคดีค้ามนุษย์ ประเมินสภาวะสุขภาพจิต บทบาทของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวง แรงงาน ยุติธรรม การบังคับใช้กฎหมายฟอกเงิน
ส่วนที่ ๓ การพัฒนาทักษะการคัดแยก/ การสัมภาษณ์ผู้เสียหาย และปฏิบัติงานในรูปแบบสหวิชาชีพ การศึกษาดูงานระบบการให้ความคุ้มครองช่วยเหลือผู้เสียหาย
วัดความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม การทดสอบความรู้ก่อน – หลัง การฝึกอบรม เพื่อวัดความรู้ เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด
เกณฑ์การประเมิน ผ่านการอบรมหลักสูตรการเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ฯ มีคุณสมบัติตามที่กฎกระทรวงกำหนด ผ่านการอบรมหลักสูตรการเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ฯ โดยมีระยะเวลาการเข้ารับการ ฝึกอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ของระยะเวลา ทั้งหมด ผ่านการประเมินมีคะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๗๐ ของ คะแนนทั้งหมด
การประเมิน ภาคทฤษฎี ๖๐ คะแนน มีการ ทดสอบ ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ วิชาคัด แยก (๒๐ คะแนน) ครั้งที่ ๒ ประมวลวิชา (๔๐ คะแนน) การฝึกปฏิบัติ ๓๐ คะแนน คะแนนพฤติกรรม (ความตั้งใจและ การมีส่วนร่วม)
การประเมิน สำหรับผู้ไม่ผ่านการประเมิน มี สิทธิขอรับการประเมินจาก คณะกรรมการประเมินฯ ใหม่ตาม รูปแบบและวิธีการที่คณะกรรมการ ประเมินฯ กำหนดภายใน ๑๕ วัน นับจากได้รับแจ้งจาก คณะกรรมการประเมินฯ
ผลการดำเนินงาน จัดฝึกอบรมฯ จำนวน ๔ ครั้ง ณ จังหวัดชลบุรี เชียงราย นครราชสีมา และ สงขลา มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน ๒๔๔ คน และผ่าน การประเมินและได้รับแต่งตั้ง เป็นพนักงาน เจ้าหน้าที่ฯ
จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ผลการวัดความรู้ก่อน – หลัง การฝึกอบรม ผลการดำเนินงาน ผลการวัดความรู้ก่อน – หลัง การฝึกอบรม ผลการประเมิน มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นประมาณ ๖ – ๗ คะแนน มีคะแนนเฉลี่ย ๘๙.๑๑ คะแนน
ข้อเสนอแนะ ขอให้จัดฝึกอบรมทบทวน ความรู้/ความรู้ใหม่ๆ เป็น ประจำทุกปีอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการเรียนรู้/แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ของพนักงานเจ้าหน้าที่ฯ ควรมีกิจกรรมสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้ารับ การฝึกอบรมให้มากกว่านี้
ขอบคุณค่ะ