บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา โดย นางสาวศันสนีย์ ทาสม หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดเชียงใหม่
คุณสมบัติ เจ้าหน้าที่ในการทำหน้าที่การพัฒนาฯ เป็นวิทยากรกระบวนการได้ มีจิตอาสา ใฝ่รู้ เป็นคนประนีประนอม สามารถโน้มน้าวจูงใจ เป็นแบบอย่างได้ เป็นนักประชาสัมพันธ์ เป็นนักจัดการ เรียนรู้จากการปฏิบัติ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการดำเนินงานการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ทำหน้าที่ประสานงานบูรณาการ สร้างความรู้ความเข้าใจผู้เกี่ยวข้อง/กลุ่มเป้าหมาย ชี้แจงการดำเนินงานต่างๆ ในการพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบ จัดการความรู้ สนับสนุนการจัดเวทีการเรียนรู้ สร้างทีมงาน จัดทำสื่อการเรียนรู้กับชุมชน ประเมิน ติดตาม รายงานผล เป็นวิทยากรกระบวนการ เข้าถึงชุมชน/เข้าถึงข้อมูลชุมชน/รู้ปัญหา
เข้าใจ รู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่าง ชัดเจน คิดเชิงบวก ความรู้ความชำนาญและทัศนคติที่เหมาะสมของเจ้าหน้าที่ในการเป็นผู้ร่วมการพัฒนาฯ เข้าใจ รู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่าง ชัดเจน คิดเชิงบวก ทำบัญชีครัวเรือน ทำแผน (ชีวิต/ชุมชน) รู้และสามารถจัดการความรู้จากการปฏิบัติได้ ร่วมคิดร่วมทำเป็นกัลยาณมิตรกับชุมชน
วัตถุประสงค์การจัดเวที เพื่อสร้างกระบวนการพัฒนาในหมู่บ้านต้นแบบด้วย หลักการ ”พึ่งตนเอง” ในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนา/แก้ปัญหา ของชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการจัดระบบการบริหารจัดการชุมชน โดย พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมฯ การเตรียมการ (ศึกษาชุมชน,ให้การศึกษาชุมชน) ทำความเข้าใจกับวัตถุประสงค์การจัดเวที ประสานคณะทำงานฯ ระดับอำเภอ และชุด ปฏิบัติการตำบล เพื่อกำหนด วิธีการ รวมถึง การกำหนดประเด็น/วัน เวลา/สถานที่ ประสานแจ้งกลุ่มเป้าหมาย (กำหนด ชัดเจน)
การดำเนินการจัดเวที ทำหน้าที่กระตุ้น ความคิด ร่วมหาทางออกในการแก้ไขปัญหาของ ครัวเรือนและชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง นำความรู้ประสบการณ์ในการทำงานของผู้ อยู่ในกระบวนการพัฒนาหมู่บ้านมาเรียนรู้ ร่วมกัน ค้นหาจุดเด่น จุดด้อย และข้อปกพร่อง วิธีการที่เป็นวิธีที่ดีที่สุด ในการสร้าง ความสำเร็จ สรุปผลเพื่อเป็นฐานความรู้
การติดตาม สนับสนุน ส่งเสริม ประสานงาน ครัวเรือนต้นแบบ กิจกรรมของครัวเรือนต้นแบบในแต่ละระดับ ถอดองค์ความรู้ ครัวเรือนต้นแบบ/ชุมชน
สาระหลักในการประชุมสร้างความเข้าใจผู้แทนครัวเรือน หลักการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียง ให้ความรู้การดำเนินงานตามแนว พระราชดำริ กำหนดเป้าหมายและเกณฑ์วัดผล จัดทำแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน ประชุม พูดคุย และสาธิตกิจกรรมการ ดำรงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำความรู้จากประสบการณ์ในการทำงาน ของผู้อยู่ในกระบวนการพัฒนาหมู่บ้าน ค้นหาจุดเด่น จุดด้อย สรุปข้อดี ข้อด้อย และข้อบกพร่อง เป็น ฐานความรู้ นำผลสรุปที่ได้จากการเรียนรู้ร่วมกัน มา ปรับปรุงดำเนินการพัฒนาหมู่บ้านต่อไป