ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
กระบวนการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การจัดทำแผนชุมชน.
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน www.themegallery.com

2.1 ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ความเป็นมา  ปี 2540 เสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งโดยการส่งเสริมกระบวนการ ประชาคมในหมู่บ้าน ปี 2544 รัฐบาลกำหนดนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจนเป็นวาระแห่งชาติ  ปี 2546 เลือกใช้แผนชุมชนเป็นเครื่องมือเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน / แก้ไขปัญหาความยากจน  ปี 2551 มีการกำหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนแผนชุมชน คือ แผนชุมชนมีคุณภาพและมีการบูรณาการกับแผนอำเภอ / จังหวัด  ปี 2552 นำระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนและกระบวนการบูรณาการ แผนชุมชนระดับอำเภอ มาใช้พัฒนาแผนชุมชน

แนวคิด  แผนชุมชนเป็นเครื่องมือสำหรับหมู่บ้าน/ชุมชน ใช้ในการ พัฒนาตนเอง  แผนชุมชนเป็นเครื่องมือสำหรับหน่วยงาน ใช้ในการส่งเสริม การพัฒนาที่มีหมู่บ้าน/ชุมชนเป็นศูนย์กลาง  เครื่องมือที่ได้มาตรฐานจะได้รับการยอมรับและนำไปใช้ ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  บูรณาการแผนชุมชนให้ใช้ได้ ในทุกระดับอย่างมี ประสิทธิภาพ

ความหมาย กิจกรรมหรือกระบวนการ เพื่อตรวจสอบและ รับรองมาตรฐานแผนชุมชน โดยการประเมิน ตามมาตรฐานแผนชุมชนที่กำหนดขึ้นโดยใช้ ระบบมาตรฐานของประเทศไทยเป็นกรอบ ความคิดในการออกแบบและโดยการมีส่วนร่วม ของภาคราชการ ภาคเอกชนและภาคประชาชน มีส่วนร่วมในการออกแบบ

มาตรฐานแผนชุมชน ตัวชี้วัด คะแนน กิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 6 กิจกรรมย่อย 2. การมีส่วนร่วม 3 กิจกรรมย่อย 3. การเรียนรู้ 25 2 กิจกรรมย่อย 4. การใช้ประโยชน์ 5. รูปเล่มของแผนชุมชน (โครงการสร้างแผนชุมชน) 10 5 กิจกรรมย่อย

หน่วยรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ประกอบด้วย  คณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชนจังหวัด ประกอบด้วยผู้แทน ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ภาคประชาชน / ภาคเอกชน อปท. และ สถาบันการศึกษา 11 – 15 คน โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย เป็นประธาน  คณะทำงานประเมินมาตรฐานแผนชุมชนจังหวัด ประกอบด้วยผู้แทน ส่วนราชการ สถาบันการศึกษา อปท. สภาองค์กรชุมชนหรือองค์กร เอกชนหรือ ศอช.ต. ผู้แทนแผนชุมชน สถาบันการเงินและ พช. 9-15 คน โดยมีหัวหน้าส่วนราชการที่ได้รับมอบหมายเป็นหัวหน้า คณะทำงาน

การตรวจสอบและรับรอง (วิธีการ / ขั้นตอน) ประชุมคณะทำงานประเมินจังหวัด ปรับปรุง ทบทวนแบบประเมิน ประชุมคณะกรรมการ รับรอง/คณะทำงาน ประเมินฯ ทบทวน วิธีการการประเมิน หมู่บ้านเสนอแผนชุมชน เข้าสู่กระบวนการรับรอง ประชาสัมพันธ์ให้หมู่บ้าน เสนอแผนชุมชนเข้าสู่ กระบวนการรับรอง แผนชุมชน ทีมปฏิบัติการระดับตำบล/ ชุมชน ประเมินเบื้องต้น 12 ตัวชี้วัด คณะทำงานประเมินฯ อำเภอ ประเมิน 5 ตัวชี้วัด แผนชุมชนผ่าน การประเมิน แผนชุมชนไม่ผ่าน ปรับปรุง/พัฒนา คุณภาพแผนชุมชน คณะทำงานประเมินจังหวัด ตรวจสอบเอกสาร และประเมินมาตรฐาน งบยุทธศาสตร์กรมฯ ประกาศรับรอง มาตรฐานแผนชุมชน ระดับจังหวัด

กิจกรรมตามโครงการส่งเสริมและ รับรองมาตรฐานแผนชุมชน 7 กิจกรรม ประชุมคณะทำงานประเมินฯ ทบทวน ปรับปรุง แบบประเมิน อำเภอเตรียมความพร้อมให้หมู่บ้าน/ชุมชน และประชาสัมพันธ์ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนให้แกนนำหมู่บ้าน/ชุมชน ประชุมคณะกรรมการรับรอง/คณะทำงานประเมินฯ เพื่อทบทวนกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการดำเนินงาน และมอบหมายการประเมินให้คณะทำงานประเมินฯ คณะทำงานประเมินฯ ติดตามประเมินผล ประชุมคณะทำงานประเมินสรุปผลการติดตามประเมินผล ประชุมคณะกรรมการรับรอง/คณะทำงานประเมิน เสนอผลการประเมิน/รับรองผลการประเมิน จัดทำประกาศให้หมู่บ้านที่ผ่านการประเมิน

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด/ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (6 ตัวชี้วัดย่อย) 20 1.1 การพึ่งตนเองมีกิจกรรมที่แสดงถึงการพึ่งตนเอง (4) 1 2 3 4 ในแผนชุมชน มีกิจกรรมพึ่งตนเอง 1) 30 % ของกิจกรรมในแผนชุมชนทั้งหมด 2) 31 - 35 % ของกิจกรรมในแผนชุมชนทั้งหมด 3) 36 - 40 % ของกิจกรรมในแผนชุมชนทั้งหมด 4) 41 % ขึ้นไป ของกิจกรรมในแผนชุมชนทั้งหมด คำนิยาม กิจกรรมพึ่งตนเองหมายถึงกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชน ดำเนินการเองทั้งหมด

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.2 มีกิจกรรมที่มีลักษณะเป็นการช่วยเหลือซึ่งกันและกันของคนในชุมชนและช่วยเหลือชุมชนอื่น (3) 1 2 3 ในแผนชุมชนมีกิจกรรมที่มีลักษณะเป็นการช่วยเหลือซึ่งกันและกันของคนในชุมชน และช่วยเหลือชุมชนอื่น 1) จำนวน 1 - 2 กิจกรรม 2) จำนวน 3 - 4 กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 5 กิจกรรม คำนิยาม กิจกรรมที่แสดงถึงการเอื้ออารีต่อกัน เช่น กิจกรรมเกี่ยวกับสวัสดิการ/การดูแลช่วยเหลือคนจน คนด้อยโอกาส คนพิการ คนชรา หรือคนที่ประสบปัญหา กิจกรรมที่แสดงถึงความรัก ความสามัคคี สมานฉันท์ของคนในชุมชน หรือกิจกรรมที่ช่วยเหลือกันในลักษณะเพื่อนช่วยเพื่อน พี่ช่วยน้อง เป็นต้น

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.3 มีกิจกรรมในแผนชุมชนที่ส่งเสริมให้คนในหมู่บ้านเก็บออม (3) 1 2 3 ในแผนชุมชนมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้คนในหมู่บ้านเก็บออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ 1) จำนวน 1 กิจกรรม 2) จำนวน 2 - 3 กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 4 กิจกรรม คำนิยาม กิจกรรมที่แสดงถึงการประหยัด การออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์ในหมู่บ้าน/ชุมชน

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.4 มีภูมิคุ้มกันชุมชน มีกิจกรรมสร้างการเรียนรู้ เพื่อให้คนในหมู่บ้านรู้และเข้าใจสถานการณ์ / ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในหมู่บ้าน / ชุมชน และมีกิจกรรมเพื่อป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบเหล่านั้น (3) 1 2 3 ในแผนชุมชน มีกิจกรรมที่สร้างการเรียนรู้ เพื่อให้คนในหมู่บ้านรู้และเข้าใจสถานการณ์ / ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในหมู่บ้าน / ชุมชน และมีกิจกรรมเพื่อป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบเหล่านั้น 1) จำนวน 1 - 2 กิจกรรม 2) จำนวน 3 - 5 กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 6 กิจกรรม คำนิยาม กิจกรรมที่แสดงถึงการเรียนรู้ เช่น กิจกรรมการสืบทอดและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านศก.พอเพียงในชุมชน ด้านศก. ด้านการป้องกัน/ต่อต้านยาเสพติด ศูนย์เรียนรู้ชุมชน การวางแผนชุมชน ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรฯ เป็นต้น

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.5 ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีกิจกรรมแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาหมู่บ้านที่ใช้ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น (3) 1 2 3 ในแผนชุมชนมีกิจกรรมที่แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาหมู่บ้านที่ใช้ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น 1) จำนวน 1 กิจกรรม 2) จำนวน 2 - 3 กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 4 กิจกรรม คำนิยาม หมายถึงความรู้ ความคิด ความเชื่อที่ท้องถิ่นได้สั่งสมและสืบทอดต่อกันมา ซึ่งเรียนรู้จากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ อันเป็นศักยภาพหรือความสามารถ วิธีการ เครื่องมือเพื่อใช้ในการป้องกันและแก้ปัญหาของการดำรงชีวิต ให้มีความสงบสุขของบุคคลในท้องถิ่นให้อยู่รอด ภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมา มีวิธีการหลายอย่างที่ทำให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน อาจเป็นการอนุรักษ์ การฟื้นฟู การประยุกต์ หรือการสร้างใหม่

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.6 อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน (4) 1 2 3 4 ในแผนชุมชนมีกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน 1) จำนวน 1 กิจกรรม 2) จำนวน 2 กิจกรรม 3) จำนวน 3 กิจกรรม 4) จำนวนตั้งแต่ 4 กิจกรรม คำนิยาม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ฯ เช่น กิจกรรมให้ความรู้ฯ การวางแผนฯ การดำเนินการฯ ส่งเสริมลดการใช้พลังงาน ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน เป็นต้น

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 2. การมีส่วนร่วม (มี 3 ตัวชี้วัดย่อย) 20 2.1 การมีส่วนร่วมของคนในหมู่บ้าน / ชุมชน (7) 2 4 7 ตัวแทนครัวเรือนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีส่วนร่วมในเวทีประชาคม ในการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านของหมู่บ้าน/ชุมชน 1) 70 % ของครัวเรือนทั้งหมด 2) มากกว่า 70 - 75 % ของ ครัวเรือนทั้งหมด 3) มากกว่า 75 % ขึ้นไปของ คำนิยาม การมีส่วนร่วมของประชาชนในการประชุม/จัดเวทีประชาคม ในการจัดทำ/ทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้านของหมู่บ้าน/ชุมชน

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 2. การมีส่วนร่วม (มี 3 ตัวชี้วัดย่อย) 20 2.2 การมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน ในกระบวนการจัดทำแผนชุมชนของหมู่บ้าน (6) 2 4 6 หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน เข้าร่วมเวทีประชาคมในการจัดทำแผนชุมชนของหมู่บ้าน/ชุมชน 1) จำนวน 2 หน่วยงาน 2) จำนวน 3 - 4 หน่วยงาน 3) จำนวนตั้งแต่ 5 หน่วยงาน คำนิยาม การมีส่วนร่วมในการประชุม/ร่วมเวทีประชาคม ในกระบวนการจัดทำแผนชุมชนของหมู่บ้านแต่ละครั้ง

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 2. การมีส่วนร่วม (มี 3 ตัวชี้วัดย่อย) 20 2.3 ลักษณะของการมีส่วนร่วม คนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจ ดำเนินงานติดตามประเมินผลและใช้ประโยชน์ คำนิยาม มีการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน ทางหอกระจายข่าว วิทยุชุมชน การประชุมหมู่บ้าน เป็นต้น (7) 2 4 7 ลักษณะการมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดทำแผนชุมชน 1) การให้ข้อมูลข่าวสาร - โดยผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน มีการสื่อสารกระบวนการจัดทำแผนชุมชนแก่ประชาชนในหมู่บ้านผ่านช่องทางต่าง ๆ 2) การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในเวทีประชาคม ในการแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และร่วมตัดสินใจในการเสนอโครงการ/กิจกรรม ในการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน (ต้องผ่านข้อ 1 ด้วย) 3) การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการตามโครงการ ร่วมติดตามตรวจสอบโครงการที่ได้รับงบประมาณดำเนินการ (ต้องผ่านข้อ 1 และ 2 ด้วย

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 3. การเรียนรู้ (2 กิจกรรมย่อย) 25 3.1 ใช้เวทีประชาคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างคนในหมู่บ้านและถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน (13) 4 8 13 มีการจัดเวทีประชาคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคนในหมู่บ้าน 1-2 ครั้ง/ปี มีการจัดเวทีประชาคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคนในหมู่บ้านและมีการถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน 1-2 ครั้ง/ปี 3) มีการจัดเวทีประชาคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคนในหมู่บ้านและมีการถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน 3-4 ครั้ง/ปี คำนิยาม การจัดเวทีเพื่อปรึกษาหารือ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องต่าง ๆ ของหมู่บ้าน และมีผู้มีองค์ความรู้ มีความสามารถ ทักษะ ที่มีลักษณะเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น อันเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ เลือกสรร ปรุงแต่ง/พัฒนาและถ่ายทอดสืบกันมา เพื่อใช้แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาชีวิตให้สมดุล/เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม มาถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนในที่ประชุม

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 3. การเรียนรู้ (2 กิจกรรมย่อย) 25 3.2 มีการทบทวนและจัดการความรู้กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้านให้มีประสิทธิภาพ (12) 4 7 9 12 มีการประชุมหรือจัดเวทีประชาคมทบทวน/จัดการความรู้กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านของหมู่บ้าน เพื่อปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้านให้มีประสิทธิภาพ 1) จำนวน 1 ครั้ง/ปี 2) จำนวน 2 ครั้ง/ปี 3) จำนวน 3 ครั้ง/ปี 4) จำนวนตั้งแต่ 4 ครั้ง/ปี คำนิยาม การประชุม/จัดเวทีประชาคม เพื่อทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้าน และมีการสรุปผลการประชุม/จัดเวทีประชาคม เพื่อนำไปปรับปรุงรูปเล่มแผนพัฒนาหมู่บ้านให้เป็นปัจจุบัน มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 4. การใช้ประโยชน์ (3 ตัวชี้วัดย่อย) 25 4.1 จำนวนกิจกรรมที่หมู่บ้าน / ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมด (9) 3 6 9 มีกิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้านที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงที่หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมด 1) จำนวน 30 % ของกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมดในแผนพัฒนาหมู่บ้าน 2) มากกว่า 30 %-40% ของกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมดในแผนพัฒนาหมู่บ้าน 3) มากกว่า 40 % ขึ้นไป ของกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมดในแผนพัฒนาหมู่บ้าน โครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้าน ที่หมู่บ้าน/ชุมชนทำเอ ง โดยใช้ศักยภาพ ทรัพยากร ความรู้ วัสดุ/อุปกรณ์ หรืองบประมาณที่มีอยู่ของหมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมดในการดำเนินการ

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 4. การใช้ประโยชน์ 25 4.2 จำนวนกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชน จะดำเนินการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ (8) 3 6 8 มีจำนวนกิจกรรมในแผนชุมชนที่หมู่บ้าน/ชุมชน จะดำเนินการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ 1) จำนวน 5-6 กิจกรรม 2) จำนวน 7-8 กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 9 กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม ในแผนพัฒนาหมู่บ้าน ที่หมู่บ้าน/ชุมชนทำร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรการพัฒนาต่าง ๆ หน่วยงาน/องค์กรภาคีอาจให้การสนับสนุนด้านวิชาการ วัสดุ/ครุภัณฑ์ หรืองบประมาณ เป็นต้น

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 4. การใช้ประโยชน์ 25 4.3 จำนวนกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชน จะต้องให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินการให้ทั้งหมด (8) 3 6 8 มีจำนวนกิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้าน ที่หมู่บ้าน จะต้องให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินการให้ทั้งหมด 1) จำนวน 1 กิจกรรม 2) จำนวน 2 กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 3 กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม ในแผนชุมชนที่หน่วยงาน/องค์กรภาคี จัดทำให้ทั้งโครงการ

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 5. รูปเล่มแผนชุมชน (5 ตัวย่อย) 10 5.1 มีข้อมูลแสดงประวัติ/ความเป็นมาของหมู่บ้าน/ชุมชน (2) 1 2 ในรูปเล่มแผนชุมชนมีข้อมูลแสดงประวัติ/ความเป็นมาของหมู่บ้าน/ชุมชน 1) ไม่มี 2) มี ไม่สมบูรณ์ 3) มี สมบูรณ์ 5.2 มีข้อมูลแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน และ/หรือ สภาพปัญหาที่หมู่บ้าน/ชุมชนประสบอยู่ ในรูปเล่มแผนชุมชน มีข้อมูลแสดงให้เห็นศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน และ/หรือ สภาพปัญหาที่หมู่บ้าน/ชุมชนประสบอยู่

มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์ ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 5. รูปเล่มแผนชุมชน (5 ตัวย่อย) 10 5.3 มีข้อมูลแสดงแนวทางการแก้ไข/การพัฒนาของหมู่บ้าน (2) 1 2 มีจำนวนกิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้านมีข้อมูลแสดงแนวทางการแก้ไข/การพัฒนาของหมู่บ้าน 1) ไม่มี 2) มี ไม่สมบูรณ์ 3) มี สมบูรณ์ 5.4 มีกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้าน ที่จัดเป็น 2 กลุ่ม ในรูปเล่มแผนพัฒนาหมู่บ้านมีกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้าน ที่จัดเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) จัดกิจกรรมตามประเภทของกิจกรรม (กิจกรรมทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางสังคม/วัฒนธรรมและกิจกรรมทางสิ่งแวดล้อม/ทรัพยากรธรรมชาติ) 2) จัดกลุ่มตามลักษณะการดำเนินกิจกรรม (หมู่บ้าน/ชุมชน ดำเนินการเองทั้งหมด ดำเนินการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ และขอให้หน่วยงานดำเนินการให้ทั้งหมด) 5.5 มีการปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้าน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2) มี

การผ่านเกณฑ์มาตรฐานแผนชุมชน คะแนนรวมทั้ง 5 ตัวชี้วัด ต้องได้มากกว่า 70 คะแนนขึ้นไป ตัวชี้วัดย่อยแต่ละตัว ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ตัวชี้วัดย่อย คะแนนตามเกณฑ์ 60% ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 12 การมีส่วนร่วม การเรียนรู้ 25 15 การใช้ประโยชน์ รูปเล่มของแผนชุมชน 10 6

ขอบคุณ