การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์) ขั้นตอนที่ 5 การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
Practice! Practice! Practice! ฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติ How/ How to :::: Practice! Practice! Practice! ฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติ Leader asks What and Why: Doing the right things ทำในสิ่งที่ถูกต้อง Why What Manager asks how and when Doing things right ทำสิ่งนั้นให้ถูกต้อง How When Where
Opportunity is No where Opportunity is NOW here
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 5: การนำเสนอแฟ้มผลงาน (Portfolio) การเตรียมพร้อมและการนำเสนอนโยบายสาธารณะต่อสมาชิกชุมชน การจำลองการจัดกิจกรรมรับฟังความคิดเห็นโดยการนำเสนอแฟ้มผลงานต่อชุมชน/สาธารณะ สรุปบทเรียนจากประสบการณ์ที่ได้รับจากการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ของการจำลองการรับฟังความคิดเห็น/ (การทำประชาพิจารณ์) เพื่อแจ้งให้ชุมชนทราบถึงความสำคัญของปัญหา อธิบายแนวทาง/นโยบายอื่นๆ ในการแก้ไขปัญหา โดยอธิบายข้อดีและข้อเสียของแต่ละแนวทาง/นโยบาย ตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับแนวทาง/นโยบายสาธารณะที่เสนอ โดยอธิบายให้เห็นว่าทำไมจึงเป็นแนวทาง/นโยบายที่ดีที่สุด ในการแก้ปัญหา อธิบายวิธีการหาการสนับสนุนสำหรับแนวทาง/นโยบายที่เสนอ จากภาครัฐ อปท. ชุมชน และประชาชน
รายละเอียดของการจำลองการทำประชาพิจารณ์/ การรับฟังความคิดเห็น กลุ่มมีเวลานำเสนอผลงานและตอบข้อซักถามต่อคณะกรรมการ (สมาชิกชุมชน 3-5 คน รวมทั้งสิ้น 10 นาที แบ่งเป็น 2 ช่วง ช่วง 4 นาทีแรก ผู้นำเสนอควรจะ: กล่าวเปิดและนำเสนอบทสรุปที่สำคัญ ซึ่งค้นพบจากการรวบรวมข้อมูล ชี้แจงและอธิบายปัญหา และข้อเสนออย่างละเอียด ทั้งบนผังนิทรรศการ และในแฟ้มข้อมูล
รายละเอียดของการจำลองการทำประชาพิจารณ์/ การรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) ใช้ผังนิทรรศการเป็นจุดอ้างอิง แต่ไม่ควรอ่านตามทุกคำ (คนหนึ่งอธิบาย อีกคนหนึ่งชี้ที่ผัง) ใช้รูปถ่าย แผนภูมิ และสื่อทางสายตาอื่นๆ ในผังนิทรรศการเพื่ออธิบาย และเน้นในจุดประสงค์ ใส่เฉพาะข้อมูลที่สำคัญเท่านั้นลงในผังนิทรรศการในการนำเสนอปากเปล่า
รายละเอียดของการจำลองการทำประชาพิจารณ์/ การรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) ช่วง 6 นาทีสุดท้ายของการนำเสนอ คณะกรรมการจะสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โดยให้แต่ละกลุ่ม: อธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อชี้แจงเหตุผลที่กล่าวถึงในการนำเสนอช่วงแรก ยกตัวอย่างที่ชัดเจนเพื่อสนับสนุนการนำเสนอและเหตุผลที่ได้นำเสนอไปแล้ว อธิบายจุดยืน หรือความคิดเห็นที่ได้นำเสนอ ตอบคำถามเกี่ยวกับปัญหาที่ได้คัดเลือก และผลงานที่ได้ดำเนินการ ตลอดจนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ข้อแนะนำสำหรับการเตรียมตัวเพื่อการทำประชาพิจารณ์/ การรับฟังความคิดเห็น ในการเตรียมการนำเสนอ ผู้นำเสนอควรจะ: ฝึกฝนการนำเสนอก่อนที่จะนำเสนอจริง (ฝึกฝน ฝึกฝน ฝึกฝน) เพิ่มประสบการณ์ ลดความประหม่า ควรให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มงานมีส่วนร่วมในการตอบคำถามหรือนำเสนอ อาจจดบันทึกย่อๆ ช่วยในช่วงการกล่าวเปิดแต่ไม่ควรใช้ในช่วงตอบคำถาม
หลีกเลี่ยงการอ่านจากบันทึกย่อโดยตรงในช่วงการกล่าวเปิด ข้อแนะนำสำหรับการเตรียมตัวเพื่อการทำประชาพิจารณ์/ การรับฟังความคิดเห็น (ต่อ) หลีกเลี่ยงการอ่านจากบันทึกย่อโดยตรงในช่วงการกล่าวเปิด อ้างอิงถึงข้อมูลในผังนิทรรศการที่เกี่ยวข้องในช่วงของการกล่าวเปิด และในช่วงของการตอบคำถาม ให้เครดิตกับทีมงานต่อความสำเร็จที่เกิดขึ้น ฝึกนำเสนอต่อเพื่อร่วมชั้นอื่นๆ นักเรียนที่เคยทำโครงการ ชมรมผู้ปกครอง
FEED BACK GOAL FACT: SPECIFIC MEANS Without VALUE
มีเป้าหมาย: ให้ดีขึ้น ปรับปรุงแก้ไข เน้นข้อเท็จจริง: จำเพาะ การให้ข้อติชม มีเป้าหมาย: ให้ดีขึ้น ปรับปรุงแก้ไข เน้นข้อเท็จจริง: จำเพาะ วิธีการเหมาะสม: เมื่อไร ความพร้อม ความเหมาะสม ไม่ใส่ค่านิยมส่วนตัว:ห่วย ไม่ได้เรื่อง
ตัวอย่างการให้คำติชม Yes…but…… วันนี้สวยจังเลย แต่แก่ หรือ แต่ริมฝีปากจืดไปหน่อย ที่พูดมาทั้งหมดผมเห็นด้วย แต่... นำเสนอได้ดีมาก แต่ยังไม่ค่อยเข้าใจ Yes…and… วันนี้สวยจังเลย และถ้าจะให้สวยมากขึ้นน่าจะ... ผู้ส่ง... พูดไม่ชัดเจน พูดเร็ว, เบา คำติดขัด ใช้คำว่า “นะครับ นะคะ” มากเกินไป เนื้อหา… ยาวหรือสั้นเกินไป ถ่ายทอดหลายชั้น ช่องทางการส่งถูกตัด
สะท้อนการเรียนรู้ รู้สึกอย่างไรเมื่อเป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอ ทำไมรู้สึกเช่นนั้น ช่วยอธิบายว่ากลุ่มร่วมกันทำงาน เตรียมตัวกันอย่างไร จุดเด่นของการนำเสนอคืออะไร และถ้าจะทำให้ดีขึ้น ท่านคิดว่าจะทำได้ที่แตกต่างจากเดิม การเข้าร่วมโครงการสร้างสำนึกพลเมืองช่วยทำให้ท่านตระหนักถึงกระบวนการกำหนดกำหนดนโยบายสาธารณะในชุมชนไหม 25
ลากเส้นตรง 4 เส้น ผ่านทั้ง 9 จุด โดยไม่ยกปลายปากกา ลากเส้นตรง 4 เส้น ผ่านทั้ง 9 จุด โดยไม่ยกปลายปากกา
มีคำผิดในประโยกนี้จำนวณ 3 แห่ง
แต่ละกลุ่ม มีเวลา 12 นาที - การนำเสนอ 6 นาที - กรรมการซักถาม 6 นาที