บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การศึกษาดูงาน รพ.เกาะพีพี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ชม วีดีโอ ใคร ๆ ก็ เป็น อสวท. ได้ อสวท. ได้ อสวท. ได้
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
นโยบายและการจัดการกับภาวะฉุกเฉิน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบบเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดจังหวัดราชบุรี โดยฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ.รบ.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
น้ำท่วม 2554.
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินจากสาธารณภัย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม ผลสรุปการประชุมกลุ่ม บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม แบบฟอร์มรายงาน และรายงานซ้ำซ้อน ไม่มีการเฝ้าระวัง จัดทำข้อมูล ในจังหวัดที่ไม่เคยท่วม แต่จะหวัดที่ท่วมมีข้อมูล แต่ไม่มีวิธีป้องกัน แต่แก้ปัญหาเองจากประสบการณ์ที่เคยท่วมทุกปี ไม่มีระบบแจ้งเตือน แต่รับข่าวจากสื่อสารต่างๆเท่านั้น ระบบขอความช่วยเหลือผ่านผู้ใหญ่บ้านเท่านั้น และผู้บริจาคทราบจากสื่อทีวี

การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม(ต่อ) การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม(ต่อ) ไม่เกิดระบบเครือข่าย ขาดการจัดการ สิ่งของบริจาคไม่ตรงกับความต้องของผู้ประสบภัย ขาดสิ่งสนับสนุนด้านสุขภาพ ขาดการให้ความรู้ประชาชน การซ้อมแผนป้องกันภัย แจ้งข่าวทางหอกระจ่ายข่าว บางครั้งไม่ทันการณ์

การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม(ต่อ) การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม(ต่อ) ไม่การสร้างแกนนำในการประสานงานกับหน่วยงานรับผิดชอบเรื่องภัยพิบัติโดยตรง เขาเป็นฝ่ายเขาประสานให้ความช่วยเหลือเอง ในช่วงน้ำท่วมเวชภัณฑ์และอาหารสำเร็จรูป น้ำดื่มขาดแคลน จัดซื้อไม่ได้ การจัดระบบทำงานเชิงรุกไม่มี ส่วนใหญ่เป็นการตั้งรับ ไม่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการพื้นที่ประสบภัยโดยตรง ในภาวะฉุกเฉินก็ไม่ได้เตรียมหน่วยเคลื่อนที่ไวเอาไว้ก่อน

ข้อเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาในภาวะภัยพิบัติ การสร้างระบบรายงานในระดับหมู่บ้านโดยมี อสม. 1-2 คนในหมู่บ้านเป็นผู้รายงานข้อมูลในเรื่องสำคัญในด้านสุขภาพในหมู่บ้าน ผู้นำ อสม.ตำบล รับข้อมูลแล้วประสานความเหลือจาก รพ.สต.และแจ้งให้ศูนย์ประสาน อสม. อำเภอทราบ

ข้อเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาในภาวะภัยพิบัติ ศูนย์ประสานงาน อำเภอ ประสานความช่วยเหลือและรายงานให้จังหวัดทราบ จังหวัดนำข้อมูลไปบูรณาการข้อมูลกับจังหวัดและประสานงานความช่วยให้ตรงความต้องการของผู้ประสบภัย วิทยุชุมชนให้มีส่วนร่วมในการแก้ข่าว เตือนภัย

เป้าหมายกลุ่มที่จะจะให้ความช่วยเหลือ กลุ่ม อสม.ที่ประสบภัยเอง การผู้ป่วยฉุกเฉินในหมู่บ้านถูกตัดขาดเส้นทางจราจร กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้าน กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังในหมู่บ้าน ตามข้อมูลของแบบรายงานของ อสม. กลุ่มผู้พิการ ขาดคนดูแล กลุ่มอื่นที่ไม่ได้รับการช่วยเหลืออื่นๆจากหน่วยงานใดเลย

การจัดตั้ง อสม.แจ้งเตือนภัยในหมู่บ้าน อสม.เชี่ยวชาญ ภัยพิบัติ ให้มี อสม.นักสื่อสารแจ้งเตือนภัยในหมู่บ้าน โดยหอกระจายข่าว ให้ อสม.มีระบบรับฟังข่าวสารด้วยระบบอินเตอร์เน็ตผ่าน(TABLET PC) หรือการส่งต่อจากศูนย์ประสานงานอำเภอ การสร้าง อสม.กู้ชีพ(EMS) ทุกหมู่บ้านในพื้นที่เสี่ยงเกิดภัยพิบัติ การจัดหาเครื่องมือสื่อสารเพิ่มเติม เช่น วิทยุสื่อสาร นำเอาเครื่องวิทยุสื่อสาร มาใช้ใน รพส.ต

การเตรียมสิ่งสนับสนุน งบประมาณให้เป็นงบพิเศษในผูกติดกับปีงบประมาณ เตรียมเวชภัณฑ์ไว้ก่อนช่วงเวลาเกิดภัยพิบัติ

เตรียมเครื่องมืออื่นให้เพียงพอ เช่น เรือ เสื้อชูชีพ เครื่องมือกู้ชีพ เตรียมอบรมให้ความรู้ กับ อสม.ที่เข้าร่วมปฏิบัติการ การเก็บข้อมูลประชาชน กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ไว้ก่อนเกิดภัย

การปรับระบบสาธารณสุขมูลฐานมาใช้งาน พัฒนา ศสมช.ในพื้นที่เสียงภัยมาใช้เป็นศูนย์ประสานงานหมู่บ้าน พัฒนาให้เป็นคลังวัสดุอุปกรณ์กู้ภัยน้ำท่วมประจำหมู่บ้าน

พัฒนาให้เป็นคลังวัสดุอุปกรณ์กู้ภัยน้ำท่วมประจำหมู่บ้าน เต็นท์พยาบาลเคลื่อนที่

สวัสดี