บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม ผลสรุปการประชุมกลุ่ม บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม แบบฟอร์มรายงาน และรายงานซ้ำซ้อน ไม่มีการเฝ้าระวัง จัดทำข้อมูล ในจังหวัดที่ไม่เคยท่วม แต่จะหวัดที่ท่วมมีข้อมูล แต่ไม่มีวิธีป้องกัน แต่แก้ปัญหาเองจากประสบการณ์ที่เคยท่วมทุกปี ไม่มีระบบแจ้งเตือน แต่รับข่าวจากสื่อสารต่างๆเท่านั้น ระบบขอความช่วยเหลือผ่านผู้ใหญ่บ้านเท่านั้น และผู้บริจาคทราบจากสื่อทีวี
การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม(ต่อ) การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม(ต่อ) ไม่เกิดระบบเครือข่าย ขาดการจัดการ สิ่งของบริจาคไม่ตรงกับความต้องของผู้ประสบภัย ขาดสิ่งสนับสนุนด้านสุขภาพ ขาดการให้ความรู้ประชาชน การซ้อมแผนป้องกันภัย แจ้งข่าวทางหอกระจ่ายข่าว บางครั้งไม่ทันการณ์
การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม(ต่อ) การถอดบทเรียน ระยะก่อนน้ำท่วม เวลาน้ำท่วม หลังน้ำท่วม(ต่อ) ไม่การสร้างแกนนำในการประสานงานกับหน่วยงานรับผิดชอบเรื่องภัยพิบัติโดยตรง เขาเป็นฝ่ายเขาประสานให้ความช่วยเหลือเอง ในช่วงน้ำท่วมเวชภัณฑ์และอาหารสำเร็จรูป น้ำดื่มขาดแคลน จัดซื้อไม่ได้ การจัดระบบทำงานเชิงรุกไม่มี ส่วนใหญ่เป็นการตั้งรับ ไม่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการพื้นที่ประสบภัยโดยตรง ในภาวะฉุกเฉินก็ไม่ได้เตรียมหน่วยเคลื่อนที่ไวเอาไว้ก่อน
ข้อเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาในภาวะภัยพิบัติ การสร้างระบบรายงานในระดับหมู่บ้านโดยมี อสม. 1-2 คนในหมู่บ้านเป็นผู้รายงานข้อมูลในเรื่องสำคัญในด้านสุขภาพในหมู่บ้าน ผู้นำ อสม.ตำบล รับข้อมูลแล้วประสานความเหลือจาก รพ.สต.และแจ้งให้ศูนย์ประสาน อสม. อำเภอทราบ
ข้อเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาในภาวะภัยพิบัติ ศูนย์ประสานงาน อำเภอ ประสานความช่วยเหลือและรายงานให้จังหวัดทราบ จังหวัดนำข้อมูลไปบูรณาการข้อมูลกับจังหวัดและประสานงานความช่วยให้ตรงความต้องการของผู้ประสบภัย วิทยุชุมชนให้มีส่วนร่วมในการแก้ข่าว เตือนภัย
เป้าหมายกลุ่มที่จะจะให้ความช่วยเหลือ กลุ่ม อสม.ที่ประสบภัยเอง การผู้ป่วยฉุกเฉินในหมู่บ้านถูกตัดขาดเส้นทางจราจร กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้าน กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังในหมู่บ้าน ตามข้อมูลของแบบรายงานของ อสม. กลุ่มผู้พิการ ขาดคนดูแล กลุ่มอื่นที่ไม่ได้รับการช่วยเหลืออื่นๆจากหน่วยงานใดเลย
การจัดตั้ง อสม.แจ้งเตือนภัยในหมู่บ้าน อสม.เชี่ยวชาญ ภัยพิบัติ ให้มี อสม.นักสื่อสารแจ้งเตือนภัยในหมู่บ้าน โดยหอกระจายข่าว ให้ อสม.มีระบบรับฟังข่าวสารด้วยระบบอินเตอร์เน็ตผ่าน(TABLET PC) หรือการส่งต่อจากศูนย์ประสานงานอำเภอ การสร้าง อสม.กู้ชีพ(EMS) ทุกหมู่บ้านในพื้นที่เสี่ยงเกิดภัยพิบัติ การจัดหาเครื่องมือสื่อสารเพิ่มเติม เช่น วิทยุสื่อสาร นำเอาเครื่องวิทยุสื่อสาร มาใช้ใน รพส.ต
การเตรียมสิ่งสนับสนุน งบประมาณให้เป็นงบพิเศษในผูกติดกับปีงบประมาณ เตรียมเวชภัณฑ์ไว้ก่อนช่วงเวลาเกิดภัยพิบัติ
เตรียมเครื่องมืออื่นให้เพียงพอ เช่น เรือ เสื้อชูชีพ เครื่องมือกู้ชีพ เตรียมอบรมให้ความรู้ กับ อสม.ที่เข้าร่วมปฏิบัติการ การเก็บข้อมูลประชาชน กลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ไว้ก่อนเกิดภัย
การปรับระบบสาธารณสุขมูลฐานมาใช้งาน พัฒนา ศสมช.ในพื้นที่เสียงภัยมาใช้เป็นศูนย์ประสานงานหมู่บ้าน พัฒนาให้เป็นคลังวัสดุอุปกรณ์กู้ภัยน้ำท่วมประจำหมู่บ้าน
พัฒนาให้เป็นคลังวัสดุอุปกรณ์กู้ภัยน้ำท่วมประจำหมู่บ้าน เต็นท์พยาบาลเคลื่อนที่
สวัสดี