พัฒนาทักษะการจัดกระบวนการการจัดการความรู้เพื่อโครงการจัดการความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขกับงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ผศ สุนทรี วิทยานารถไพศาล ห้อง 405อาคารโอสถศาลา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ผ่านรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ชุมนุม YC.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
กรณีความเสี่ยง DMSc.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
โดย ศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภคจังหวัด สงขลา สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ภาคใต้ ม. สงขลานครินทร์
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
“เยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์”
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาทักษะการจัดกระบวนการการจัดการความรู้เพื่อโครงการจัดการความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขกับงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ผศ สุนทรี วิทยานารถไพศาล ห้อง 405อาคารโอสถศาลา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 11-12 มิถุนายน 2550

Hello ท่านมาทำอะไรที่นี่ คาดหวังอะไร

วัตถุประสงค์ ทำความเข้าใจโครงการ ปฏิบัติการ กระบวนการด้านทักษะการจัดการความรู้ ปฏิบัติการพัฒนา กระบวนการจัดการความรู้เพื่อบรรลุเป้าหมาย

การจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 การจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

หลักการคุ้มครองผู้บริโภค แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 หลักการคุ้มครองผู้บริโภค กระบวนการทางกฎหมาย(Law enforcement) กระบวนการ เฝ้าระวัง (Monitoring) กระบวนการคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer Protections) หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

บทบาทพันธมิตรในการคุ้มครองผู้บริโภค แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 บทบาทพันธมิตรในการคุ้มครองผู้บริโภค การเฝ้าระวัง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ สสจ อสม การรณรงค์สิทธิผู้บริโภค องค์กรคุ้มครองผู้บริโภค มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค สหพันธ์องค์กรผู้บริโภค กลุ่มศึกษาปัญหายา นักวิชาการ ฯลฯ ด้านการควบคุมตามกฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและย สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค กระทรวงพาณิชย์ หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

ภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 ภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

ความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 ความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย นักวิชาชีพ กลุ่ม ข กลุ่ม ก ไม่ว่าจะยึดตามแนวทฤษฎี The Fifth Discipline ของ Peter Senge หรือแนว Chaordic Management ของ Dee Hock ต่างก็มาบรรจบที่จุดเดียวกัน คือ การหลีกหนีให้ไกลจากการเป็นองค์การแบบควบคุมสั่งการ ยึดถือวัฒนธรรมอำนาจ เปลี่ยนมาเป็นวัฒนธรรมแนวราบ ความสัมพันธ์แบบเครือข่าย และให้อำนาจ (empower) แก่ผู้ปฏิบัติงาน ณ จุดของผู้ใช้บริการให้มากที่สุด ขณะเดียวกัน ก็จะต้องมีเครื่องมือยึดเหนี่ยวสมาชิกขององค์การ ให้มีจุดมุ่งมั่นไปในทางเดียวกัน มีเป้าหมายเชิงคุณค่าหรือแรงบันดาลใจร่วมกัน และมีการวัดความสำเร็จขององค์การตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งเป็นทั้งพลังร่วมจากภายในองค์การ และพลังขับดันจากภายนอก ให้สมาชิกขององค์การมีความรู้สึกร่วมชะตากรรม ร่วมอุดมการณ์ เกิดการรวมตัวกันทำงานเชิงสร้างสรรค์ โดยการเรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติงาน ได้ผลลัพธ์ทั้งผลงานโดยตรง และเกิดการเรียนรู้ของสมาชิกในทางอ้อม สร้างสรรค์องค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ กลุ่ม ค ผู้สื่อข่าว นักวิชาการ หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

เทคโนโลยีสารสนเทศ กับการขับเคลื่อนพลังเครือข่าย

http://nrm.massey.ac.nz/changelinks/

แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 กรณีศึกษา : การใช้ยาชุด ยาแก้ปวด เอ พี ซี ยาสูตรผสม และยาเด็กที่ไม่เหมาะสม ( พศ. 2524 - 2538) ข้อมูลยาชุด ข้อมูลยาซองแก้ปวด หลักการและแนวปฏิบัติขององค์การแห่งการเรียนรู้ ไม่ว่าจะยึดตามแนวทฤษฎี The Fifth Discipline ของ Peter Senge หรือแนว Chaordic Management ของ Dee Hock ต่างก็มาบรรจบที่จุดเดียวกัน คือ การหลีกหนีให้ไกลจากการเป็นองค์การแบบควบคุมสั่งการ ยึดถือวัฒนธรรมอำนาจ เปลี่ยนมาเป็นวัฒนธรรมแนวราบ ความสัมพันธ์แบบเครือข่าย และให้อำนาจ (empower) แก่ผู้ปฏิบัติงาน ณ จุดของผู้ใช้บริการให้มากที่สุด แต่ในขณะเดียวกัน ก็จะต้องมีเครื่องมือยึดเหนี่ยวสมาชิกขององค์การ ให้มีจุดมุ่งมั่นไปในทางเดียวกัน มีเป้าหมายเชิงคุณค่าหรือแรงบันดาลใจร่วมกัน และมีการวัดความสำเร็จขององค์การตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งเป็นทั้งพลังร่วมจากภายในองค์การ และพลังขับดันจากภายนอก ให้สมาชิกขององค์การมีความรู้สึกร่วมชะตากรรม ร่วมอุดมการณ์ เกิดการรวมตัวกันทำงานเชิงสร้างสรรค์ โดยการเรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติงาน ได้ผลลัพธ์ทั้งผลงานโดยตรง การสร้างสรรค์องค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และเกิดการเรียนรู้ของสมาชิกขององค์การให้เป็นบุคคลเรียนรู้ การศึกษาวิจัยเรื่อง “การใช้ยาของชุมชน” “การใช้ยาผิดประเภท” และ การใช้ยาสูตร เอ พี ซี ในเมืองไทย ของ กศย หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรื่อง ปัญหายาอันตรายทั้งใน ระดับชุมชนและระดับชาติ แนวทางการพัฒนาแผนสร้างหน่วยจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4/4/2017 กรณีศึกษา : การใช้ยาชุด ยาแก้ปวด เอ พี ซี ยาสูตรผสม และยาเด็กที่ไม่เหมาะสม ( พศ. 2524 - 2538) ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยเรื่อง “การใช้ยาของชุมชน” “การใช้ยาผิดประเภท” และ การใช้ยาสูตร เอ พี ซี ในเมืองไทย ของ กศย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรื่อง ปัญหายาอันตรายทั้งใน ระดับชุมชนและระดับชาติ กลุ่มเครือข่ายสุขภาพ ร่วมใจกันรณรงค์เพื่อให้สังคมได้รับรู้ปัญหายาอันตรายและเรียกร้องการแก้ปัญหาจากรัฐ ได้รับการสนับสนุนจากสื่อสารมวลชน นักวิชาการและวิชาชีพ หลักการและแนวปฏิบัติขององค์การแห่งการเรียนรู้ ไม่ว่าจะยึดตามแนวทฤษฎี The Fifth Discipline ของ Peter Senge หรือแนว Chaordic Management ของ Dee Hock ต่างก็มาบรรจบที่จุดเดียวกัน คือ การหลีกหนีให้ไกลจากการเป็นองค์การแบบควบคุมสั่งการ ยึดถือวัฒนธรรมอำนาจ เปลี่ยนมาเป็นวัฒนธรรมแนวราบ ความสัมพันธ์แบบเครือข่าย และให้อำนาจ (empower) แก่ผู้ปฏิบัติงาน ณ จุดของผู้ใช้บริการให้มากที่สุด แต่ในขณะเดียวกัน ก็จะต้องมีเครื่องมือยึดเหนี่ยวสมาชิกขององค์การ ให้มีจุดมุ่งมั่นไปในทางเดียวกัน มีเป้าหมายเชิงคุณค่าหรือแรงบันดาลใจร่วมกัน และมีการวัดความสำเร็จขององค์การตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งเป็นทั้งพลังร่วมจากภายในองค์การ และพลังขับดันจากภายนอก ให้สมาชิกขององค์การมีความรู้สึกร่วมชะตากรรม ร่วมอุดมการณ์ เกิดการรวมตัวกันทำงานเชิงสร้างสรรค์ โดยการเรียนรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติงาน ได้ผลลัพธ์ทั้งผลงานโดยตรง การสร้างสรรค์องค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และเกิดการเรียนรู้ของสมาชิกขององค์การให้เป็นบุคคลเรียนรู้ ยาสูตร เอพีซี ยาเด็กที่ไม่เหมาะสม และยาอันตราย ได้มีการยกเลิก และแก้ไข สูตร หน่วยปฎิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม (วจภส)

การคุ้มครองผู้บริโภคเป็นภาระกิจของทุกคน เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ซับซ้อนขึ้น เทคโนโลยีที่แผ่ขยายไม่สิ้นสุด ความรู้ไม่เพียงพอกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ย่อมมีผลกระทบกับภาระกิจหน้าที่ในการคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งเป็นเหยื่อในฐานะผู้บริโภค ร่วมมือร่วมใจในการประสานเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างการจัดการความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

เครือข่ายประชาคมทั้งในระดับองค์กร ชุมชน และสังคม พึงร่วมกันเรียนรู้ ร่วมกันจัดการความรู้ให้มีลักษณะเป็นวัฏจักรที่เป็นพลวัตสืบเนื่องกัน ระหว่างการสร้าง ความรู้ การถ่ายทอดความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อสรรค์สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน