บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
Advertisements

วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
น.พ.อมร นนทสุต.
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก ของศูนย์อนามัยที่ 4 ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก ( ราชบุรี นครปฐม กาญจนบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ประจวบคีรีขันธ์ )

วิวัฒนาการ 6 Key Function แบ่งเป็น 3 ระยะ ( ปี 2551 -2553) ปี 2551 : ประชาสัมพันธ์ทั้งภายนอกและภายใน ปี 2552 : พยายามจัดแผนงาน / โครงการ/ กิจกรรม ให้เข้ากับ 6 Keys 3. ปี 2553 : แผนยุทธศาสตร์ครอบคลุม 6 Keys

การเฝ้าระวัง (Surveilance) ระบบรายงานแม่และเด็กไทย รายงานของเจ้าภาพประเด็นยุทธ์( 6 ประเด็น) ฐานข้อมูล Teenage Pregnancy ฐานข้อมูล เพื่อประเมินภาวะอ้วนลงพุงในองค์กร Breast mass and Breast Exam pregnancy สุ่มสำรวจสถานการณ์ ( พัฒนาการเด็ก แม่วัยรุ่น ภาวะอ้วนลงพุง ชมรมผู้สูงอายุ อาหารและน้ำ เฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ

การวิจัยพัฒนา(Research and Development) พัฒนารูปแบบบริการ รร. พ่อแม่ ตามมาตรฐาน รพ.สายใยรัก (R to R) ศึกษากระบวนการลดปัจจัยเสี่ยงด้านเพศ สารเสพติด และความรุนแรง ในนักเรียนมัธยมปลาย (R to R) ศึกษาการเข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก พัฒนาหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับเยาวชน และนักเรียน พัฒนารูปแบบการดำเนินงานสภาผู้สูงอายุและ คลังปัญญา จ.เพชรบุรี พัฒนากลยุทธ์กิน ผลไม้ ใน รร.ต้นแบบ พัฒนาระบบบริหารงานคุณภาพ รพ.

การติดตามประเมินผล (Monitoring and Evaluation) การรับรองมาตรฐาน การประเมินการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การประเมินโครงการแม่วัยรุ่น (Teenage Pregnancy) การนิเทศงานกระทรวงฯ การประเมินกระบวนการการบริหารงาน ส่งเสริมสุขภาพฯ (PP)

การสนับสนุนภาคีเครือข่าย (Provider Support) ประชุม/ อบรม / สัมมนา / ศึกษาดูงานทั้งใน และ ต่างประเทศ วิทยากร / ให้คำปรึกษา งบประมาณ /วัสดุ / อุปกรณ์ / เทคโนโลยี อื่นๆตามที่ร้องขอ

การคุ้มครองผู้บริโภค(Consumer Protection) ควบคุม ป้องกันโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัว HIV ส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ ส่งเสริมทันตสุขภาพ /เครือข่ายเด็กไทยฟันดี อาหารปลอดภัย

การประสานความร่วมมือกับแหล่งทุน ( Funder Alliance) ท้องถิ่น ( อบจ./ อบต.) สปสช,เขต ( 3โครงการ ) กองทุนโลก WHO

ผลการดำเนินงานตาม ตัวชี้วัด ปี 2552 (excel)

จุดอ่อน ระบบเฝ้าระวังยังไม่ครอบคลุม ไม่เป็นระบบ ฐานข้อมูลยังไม่ทันสมัย ไม่ครบถ้วน เป้าหมายไม่ชัดเจน ทำให้ไม่ทราบปัญญาที่แท้จริง มาตรการในการแก้ไขปัญหาแบบเดิมๆ เช่นประขุม อบรม สัมมนา เป็นหลัก ระบบการนิเทศงาน การติดตามประเมินผลยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรเน้นการตรวจสอบ และการติดตามรายงานผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดมากเกินไป ข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาที่สำคัญตามบริบทของพื้นที่ ยังไม่ได้รับการศึกษาวิจัยและนำไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง

แนวทางการแก้ปัญหาในปี 2553 จัดทำโครงการ : จัดทำแผนบูรณาการ และถ่ายทอดโยบาย เพื่อพัฒนาระบบ ติดตามประเมินผล งานส่งเสริมสุขภาพ

กลยุทธ์ เน้นความสามารถในการแก้ปัญหาสุขภาพในเขต จัดทำแผนบูรณาการเชิงรุกระดับเขต ถ่ายทอด ลงสู่จังหวัด 3. แผนต้องมีคุณภาพ เพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ 3 ด้าน การวิเคราะห์สภาพปัญหา ใช้ข้อมูลจากของจริง การกำหนดกลุ่มหมายที่ชัดเจน กลยุทธ์การแก้ปัญหา มาตรการ/กิจกรรมเหมาะสม ปฏิบัติได้และแก้ปัญหาได้จริง

ผลลัพธ์ แผนบูรณาการของศูนย์วิชาการ 6 แผน ได้แก่ แผนบูรณาการของศูนย์วิชาการ 6 แผน ได้แก่ ภาวะอ้วนลงพุง : สุขภาพดีวิถีไทย เด็กวัยเรียนและเยาวชน ผู้สูงอายุ อาหารปลอดภัย รพ. ส่งเสริมฯ 2. SRM SLM ตาราง 11 ช่อง Deployบทบาททุกระดับ