การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย
ความสัมพันธ์ ฟัน กับ อาหารและ โภชนาการ ใน 3 มิติ
มิติที่ 1 ฟันดี ร่างกายนำสารอาหารไป ใช้ได้เต็มที่ โภชนาการดี
มิติที่ 2 อาหารทำลายฟัน ฟันผุ โภชนาการแย่
มิติที่ 3 อาหารบำรุงฟัน ฟันดี โภชนาการเยี่ยม
การส่งเสริมทันต สุขภาพ มีหลักการและ แนวคิดเดียวกับ การส่งเสริมสุขภาพ
มุ่งให้ความสำคัญต่อ การพัฒนาพฤติกรรม สุขภาพ พฤติกรรมทันต สุขภาพ
การสื่อสารทันต สุขภาพ ( Dental Health Communication ) ที่ เหมาะสม การมีพฤติกรรมทันต สุขภาพที่ดี ฟันดี
วิเคราะห์จุดแข็งการสื่อสาร ทันตสุขภาพที่ผ่านมา องค์ความรู้ชัดเจน บุคลากรมีศักยภาพ เป็นองค์ประกอบสำคัญของ PHC มีช่องทางการสื่อสารหลาย ทาง ภาคเอกชนให้การสนับสนุน
วิเคราะห์จุดอ่อนการสื่อสารที่ผ่าน มา ยังไม่กระตุกสังคม จุดขาย ยังไม่กระตุกสังคม ประเด็นการสื่อสารไม่คมชัด คนไทยยังให้ความสำคัญและ ตระหนัก ต่อทันตสุขภาพค่อนข้างต่ำ ปรับพฤติกรรมยาก
ผู้กำหนดนโยบาย ระดับชาติยังไม่ได้รับ การจุดประกาย ยุทธศาสตร์เชิงรุกยังไม่ ชัดเจน บุคลากรการสื่อสารทันต สุขภาพมีน้อย
ขาดการบูรณาการ ใช้ทรัพยากรยังไม่เต็มที่ เรียงลำดับ กลุ่มเป้าหมายไม่ชัด
แนวคิดการสื่อสาร เริ่มด้วยการสร้างกระแสสังคม สู่ Policy Advocacy ผลักเข้าสู่นโยบายแห่งชาติ กำหนดจุดขาย (Selling point ) ที่กระแทกใจ วิเคราะห์สาเหตุปัญหาเพื่อ กำหนดประเด็นสื่อสาร มุ่งสื่อสารเพื่อสร้างพฤติกรรม
สร้างฟันนำซ่อมฟัน ต้องเริ่มวัยเด็ก ? วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย หลัก / รอง บูรณาการเข้า Setting ต่างๆ
ขับเคลื่อนด้วย 3 ทฤษฎีการสื่อสาร Social Marketing. Entertainment Education. Diffusion of innovation
พัฒนาศักยภาพนักการ สื่อสารทุกระดับ ระดมทรัพยากรการ สื่อสาร R & D เพื่อสร้าง GMP
โครงการเด็กไทยไม่ กินหวาน สะท้อน... จับสาเหตุปัญหามารณรงค์ ไม่ได้มุ่งตรงเพียงเรื่องฟัน เคลื่อนพร้อมกันทุกภาค ส่วน
สวัสดีครับ