โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน กองสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
ประเภทน้ำบริโภคในโรงเรียน กรุงเทพมหานคร น้ำบรรจุขวด 2 % น้ำประปา 98 จังหวัดต่างๆ น้ำบรรจุขวด 4 % น้ำฝน 19 น้ำบ่อบาดาล 16 น้ำบ่อตื้น 6 น้ำประปา 55
คุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน
คุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน กรุงเทพมหานคร 85 15 จังหวัดต่างๆ 65 35 ปนเปื้อนแบคทีเรีย ไม่ปนเปื้อนแบคทีเรีย ปนเปื้อนแบคทีเรีย ไม่ปนเปื้อนแบคทีเรีย
จุดบริการน้ำดื่ม
ความสะอาดบริเวณจุดบริการน้ำดื่ม
การปรับปรุงคุณภาพน้ำก่อนนำมาบริโภค
ภาชนะสำหรับดื่มน้ำ
ผู้รับผิดชอบในการจัดหาน้ำดื่ม
สรุปสาเหตุ แหล่งน้ำ ระบบบริการ โครงสร้าง การจัดการ น้ำฝน น้ำบ่อตื้น น้ำบ่อบาดาล น้ำประปา น้ำบรรจุขวด แหล่งน้ำ ตู้น้ำ ก๊อก ภาชนะใส่น้ำ/ดื่มน้ำ ระบบบริการ สรุปสาเหตุ แนวท่อ เครื่องกรองน้ำ ที่เก็บน้ำ โครงสร้าง การจัดการ การบริหาร สังคม
แนวทางการพัฒนา การปรับปรุงทางด้านโครงสร้าง การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค วิจัย (รูปแบบการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน) โครงการนำร่อง (โครงการน้ำดื่มสะอาด ปลอดภัย สุขาน่าใช้ในโรงเรียน : พื้นที่จังหวัดประสบภัยสึนามิ) น้ำประปาโรงเรียนดื่มได้
การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่มในโรงเรียน (โดย-เพื่อ-ของนักเรียน) นักเรียนแกนนำ ผู้สนับสนุน ตรวจคุณภาพน้ำดื่ม เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ประสานงาน ดูแล บำรุงรักษา แจ้งเหตุ บันทึกการปฏิบัติงาน รายงานผล เป็นแบบอย่าง ผู้บริหาร ครู ภารโรง ผู้ประกอบการร้านค้า ชุมชน นักวิชาการ อปท.
ขั้นตอนการดำเนินงานน้ำประปาโรงเรียนดื่มได้ - โครงสร้าง - การบริหารจัดการ - การบำรุงรักษา ปรับปรุง ระบบประปาโรงเรียน ประสานงานศูนย์อนามัย ปรับปรุง เก็บ ต.ย. น้ำครั้งที่ 1 ตกลง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน วิเคราะห์ LAB กรมอนามัย ปรับปรุง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 เดือน และไม่เกิน 2 เดือน เก็บ ต.ย. น้ำครั้งที่ 2 ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน วิเคราะห์ LAB กรมอนามัย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน รวบรวมผลวิเคราะห์ โรงเรียน ศูนย์อนามัย กรมอนามัยรับรอง วุฒิบัตร ประกาศน้ำประปาโรงเรียนดื่มได้ ประชาสัมพันธ์ เฝ้าระวังคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี น้ำดื่ม-น้ำใจ กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี