การถ่ายโอนถนนให้แก่ อปท. ตามแผนการกระจายอำนาจฯ ระยะทาง 13,810 กิโลเมตร การถ่ายโอนถนนให้แก่ อปท. ตามแผนการกระจายอำนาจฯ ระยะทาง 13,810 กิโลเมตร สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่น กรมทางหลวงชนบท
การถ่ายโอนภารกิจ ภายใต้เกณฑ์ความพร้อมของ อปท. ตามที่คณะกรรมกลางกำหนด การถ่ายโอนของ ทช. ปี 2545-2549 ถ่ายโอน 52,100 กม. ปี 2551 ถ่ายโอน 6,100 กม. ปี 2553 จะถ่ายโอน 13,810 กม. อปท. จำนวนสายทาง ระยะทาง (กม.) อบจ. 3,636 25,025 อบต. 9,299 26,069 เทศบาลนคร 22 15.4 เทศบาลเมือง 84 94.4 เทศบาลตำบล 493 1041 รวม 13,534 52,245 พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) ให้ถ่ายโอนถนนโครงข่ายสายรองที่ไม่สำคัญจำนวน 13,810 กิโลเมตรพร้อมแผนงาน และงบประมาณซ่อมบำรุงให้ อปท. ในปี 2552-2553 ภายใต้เกณฑ์ความพร้อมของ อปท. ตามที่คณะกรรมกลางกำหนด
นโยบายด้านการถ่ายโอนถนนของกรมทางหลวงชนบท สภาพปัญหาการถ่ายโอน ปี 2546-2550 การแก้ไข ถ่ายโอนถนนที่มีสภาพที่ดีให้กับ อปท. ที่มีความพร้อม จัดทำฐานข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาต่อยอด และการเป็นพี่เลี้ยง การมีส่วนร่วมของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ถนนมีความชำรุดเสียหายมาก ขัดแย้งทางความคิดระหว่างหน่วยงานที่ถ่ายโอน และหน่วยงานที่รับโอน ข้อมูลการถ่ายโอนขาดความชัดเจน เป็นอุปสรรคต่อการติดตามและประเมินผล สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่น กรมทางหลวงชนบท
ขั้นตอนการถ่ายโอนถนนให้แก่ อปท. สสท. สรุปข้อมูลที่จะถ่ายโอน สรุปความพร้อมของ อปท. ตัวอย่างแผนปฏิบัติการถ่ายโอน อทช. เห็นชอบขั้นตอนการถ่ายโอน แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการถ่ายโอนถนนให้แก่ อปท. เสนอ แจ้ง ประสานคณะกรรมการ แจ้ง อปท. สทช. ที่ 1-18 จัดทำแผนปฏิบัติการ ทชจ. ซ่อมถนนและจัดเตรียมเอกสาร ประกอบการถ่ายโอน แจ้ง คณะกรรมการดำเนินการตรวจสอบสภาพถนน ตาม Checklist และแผนปฏิบัติการ ทชจ. ซ่อมบำรุง ไม่ผ่าน ผ่าน สสท. สรุปรายงานที่ประชุมผู้บริหารทุกเดือน คณะกรรมการตรวจสอบเอกสารถ่ายโอน ส่งมอบ / ถ่ายโอน อปท. รับมอบถนน สรุปรายงาน ทช. และแจ้ง สถ. / สกถ. ต่อไป สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่น กรมทางหลวงชนบท
คณะกรรมการดำเนินงานถ่ายโอน องค์ประกอบของคณะกรรมการมีดังนี้ ผสทช. ที่ 1-18 ประธาน ท้องถิ่นจังหวัด/ผู้แทน กรรมการ ผอ.ทชจ. กรรมการ ผู้แทน สบร. กรรมการ ผู้แทน สสท. กรรมการ ผู้แทน อปท. ที่รับโอน กรรมการ อธิบดีกรมทางหลวงชนบท ได้ลงนามในคำสั่งแต่งตั้ง ที่ 682/2553 ลว. 1 มิถุนายน 2553 สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่น กรมทางหลวงชนบท
ภารกิจของคณะกรรมการ แบบฟอร์ม บันทึกส่งมอบ แบบรายงานการตรวจสอบสภาพถนน ตรวจสอบถนนที่จะถ่ายโอนในกลุ่ม 13,810 กิโลเมตร ในเขต สทช./จังหวัด แบบฟอร์ม จัดทำข้อมูลประวัติสายทาง (Road Inventory Data) บันทึกส่งมอบ ส่งมอบถนน (สภาพที่ดี) ให้แก่ อปท. แบบรายงานความก้าวหน้า สรุปผลการถ่ายโอนต่อที่ประชุมผู้บริหาร สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่น กรมทางหลวงชนบท
กิจกรรมถ่ายโอนถนน 13,810 กม. 1. ประเมินความพร้อมของ อปท. 2. เตรียมความพร้อมให้ อปท. 3. จัดทำเอกสารประกอบการถ่ายโอน 4. ซ่อมให้มีสภาพที่ดีก่อนถ่ายโอน 5. ส่งมอบ
1. ประเมินความพร้อมของ อปท. ดำเนินการแล้ว
2. เตรียมความพร้อมให้แก่ อปท. ดำเนินการแล้ว ปทุมธานี สุพรรณบุรี นครราชสีมา อุดรธานี เชียงใหม่ สงขลา
3. จัดทำเอกสารประกอบการถ่ายโอน ข้อมูลทั่วไปของโครงการ แผนที่สายทางที่ถ่ายโอน ภาพถ่ายก่อนการถ่ายโอน ประวัติสายทาง (Road Inventory Data) ประวัติการก่อสร้าง ประวัติการบำรุงรักษา รายการเครื่องหมายจราจร รายการโครงสร้างระบายน้ำ ข้อมูลสถานที่สำคัญในสายทาง สำนักส่งเสริมการพัฒนาทางหลวงท้องถิ่น กรมทางหลวงชนบท
4.ซ่อมให้มีสภาพที่ดีก่อนถ่ายโอน
รายงานการตรวจสอบสภาพถนนที่จะถ่ายโอนให้แก่ อปท.
5. ส่งมอบ
บันทึกการส่งมอบทางหลวงชนบทให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
การบริหารจัดการทางหลวงท้องถิ่น ภายหลังจากที่ อปท. รับโอนถนนไปแล้ว การจัดทำฐานข้อมูล การซ่อมบำรุง จัดทำประวัติสายทาง ลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น สำรวจออกแบบ จัดทำแผนซ่อมบำรุง ซ่อมบำรุง การปรับปรุงและพัฒนา การควบคุมรักษาตามกฎหมาย การควบคุมคุณภาพการก่อสร้าง/ซ่อมบำรุง ยกระดับให้มีมาตรฐานที่สูงขึ้น การควบคุมการใช้ทางหลวงท้องถิ่น การอนุญาตกระทำการใดๆ ในเขตทางหลวงท้องถิ่น
ปัญหาจากการถ่ายโอนถนน สาเหตุ การแก้ไข อปท. ต้องการรับโอน แต่สภาพถนนไม่เรียบร้อย แจ้งให้ ทชจ. ดำเนินการซ่อมแซมและให้คณะกรรมการตรวจสอบใหม่อีกครั้ง อปท. ไม่พร้อมรับโอน/ไม่ประสงค์รับโอน ให้ อปท. ทำหนังสือชี้แจงเหตุผลถึง ทชจ. และให้ ทชจ.รวบรวมส่งให้ สสท. เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการการกระจาย อำนาจฯ
จบการนำเสนอ