กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
การดูแลระยะตั้งครรภ์
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
สาเหตุของการติดยาเสพติด
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
สื่อประกอบการเรียนรู้
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับปัญหาทางสังคม
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
การดื่มแอลกอฮอล์และการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
โรคเอสแอลอี.
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
คุณภาพชีวิต.
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สื่อสุขภาพจิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
ส่งเสริมสัญจร.
การก้าวทันยาเสพติดของวัยรุ่น
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ โทร
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ห่วงลูกหลาน รักในหลวง เด็กไทย ห่างไกลยาเสพติด ร่วมกันต้าน ยาเสพติด.
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ยาเสพติด ยาเสพติด คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านภัย เราจะป้องกันยาเสพติด
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
สารเสพติด จัดทำโดย ด.ญ. สุวรรณษา วงค์ขัติยะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
แล้วคุณเป็นใคร ?.
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
รายงาน เรื่อง ทักษะปฏิเสธทางเพศ โดย เด็กหญิง สมัชญา ใจรักษา เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต.
เด็กปลอด จัดทำโดย ด. ช. อาทิตย์ ภูมิภู เขียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เลขที่ 2.
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ค่านิยมที่ดีและเหมาะสม ของเพื่อนสนิท.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สารเสพติด โรงเรียนวารินชำราบ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ยาเสพติด

ความหมายของสารเสพติด สิ่งเสพติด หรือที่เรียกกันว่า "ยาเสพติด" หมายถึงสิ่งที่เสพเข้าไปแล้วจะเกิดความต้องการทั้งทางร่างกายและจิตใจต่อไปโดยไม่สามารถหยุดเสพได้ และจะต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดจะทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่อร่างกายและจิตใจขึ้น

ประเภทของสารเสพติด 1. ออกฤทธิ์กดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน เซโคบาร์บิทาล (บาร์บิทูเรต) เหล้าแห้งหรือโซโคบาล ทำให้ประสานมึนชา สมอง อารมณ์และจิตใจเฉื่อยชา

2. ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟทามีนหรือยาบ้า กระท่อม โคเคน มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทำให้เกิดความตื่นตัว กระวนกระวายประสาทตื่นตัวอยู่เสมอ

3. ออกฤทธิ์หลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ทำให้เกิดประสาทหลอนเห็นภาพผิดไปจากปกติ

4. ออกฤทธิ์ผสมผสานกัน ทั้งกดประสาทกระตุ้นประสาท และหลอนประสาท เช่น กัญชา

ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเสพสารเสพติด 1. ปัจจัยทางชีววิทยา

2. ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม

3. ปัจจัยทางครอบครัว

4. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ

5. ปัจจัยด้านชุมชน

อาการของผู้เสพสารเสพติด 1. ความประพฤติเปลี่ยนไป 2. เจ้าอารมณ์ 3. หน้าตาเฉยเมยแบบคนที่มีความทุกข์ 4. เบื่อหน่ายการงานและการเรียน 5. มีลับลมคมใน 6. ใช้เงินเปลืองผิดปกติ 7. ผอมซีด สุขภาพทรุดโทรม

วิธีการป้องกันการเสพสารเสพติด 1. นักเรียนมีความรู้ 2. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง 3. ต้องร่วมมือกับพ่อแม่โดยเข้าใจถึงภาระหน้าที่ของพ่อแม่ 4. หากสงสัยว่าเพื่อนมีอาการคล้ายคนติดสารเสพติดต้องบอกครู 5. เข้าร่วมกิจกรรมที่เสริมสร้างพลังใจอารมณ์

สถานการณ์สารเสพติดที่มี การแพร่ระบาดในปัจจุบัน สารเสพที่ผิดกฎหมาย

สารเสพติดที่ไม่ผิดกฎหมาย

1. ผลต่อหัวใจ 2. ผลต่อตับ 3. ผลต่อผิวหนัง 4. ผลต่อสมอง โทษต่อร่างกาย 1. ผลต่อหัวใจ 2. ผลต่อตับ 3. ผลต่อผิวหนัง 4. ผลต่อสมอง 5. ผลต่อกระเพาะอาหาร 6. ผลต่อระบบสืบพันธุ์

แอลกอฮอล์ - โรคพิษสุราเรื้อรัง - โรคตับอักเสบ โรคที่เกิดจากการใช้สารเสพติด แอลกอฮอล์ - โรคพิษสุราเรื้อรัง - โรคตับอักเสบ

บุหรี่สร้างอันตรายแก่ผู้สูบและบุคคลรอบข้าง

1. โรคมะเร็งปอด 2. โรคหัวใจและหลอดเลือด 3. โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังและถุงลมโป่งพอง 4. โรคแผลในกระเพาะอาหาร 5. ผลร้ายต่อเด็กในครรภ์และอาหาร

ยาบ้า เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย ระยะแรกจะออกฤทธิ์ทำให้ร่างกายตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง ใจสั่น ประสาทตึงเครียด

เฮโรอีน ลักษณะของเฮโรอีน มี 2 ชนิด เฮโรอีนบริสุทธิ์และเฮโรอีนผสม เฮโรอีน ลักษณะของเฮโรอีน มี 2 ชนิด เฮโรอีนบริสุทธิ์และเฮโรอีนผสม ทำให้ร่างกายทรุดโทรม ผอมซีด น้ำหนักตัวลดอย่างรวดเร็ว สมองเสื่อม ความจำเสื่อม ผู้ที่เสพเกินขนาดอาจถึงแก่ความตายได้

ปัญหาและผลกระทบ จากการใช้สารเสพติด - ต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจของผู้เสพ - ต่อเศรษฐกิจของครอบครัวและประเทศรวมทั้งความมั่นคง - ความสงบสุขของสังคมและประเทศชาติ - ทำให้เกิดความทุกข์อย่างใหญ่หลวงในครอบครัวที่มีลูกหลานติดสารเสพติด

การใช้สารเสพติดในชุมชน แนวทางการป้องกัน การใช้สารเสพติดในชุมชน 1. การสร้างเสริมความสัมพันธ์ภายในครอบครัว 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและผลกระทบต่อการใช้สารเสพติด 3. พ่อแม่ผู้ปกครองควรช่วยให้วัยรุ่นยอมรับและเข้าใจตนเอง 4. โรงเรียนควรส่งเสริมกิจกรรมนันทนาการ

2. รู้จักหลีกเลี่ยงการคบหาคนที่ติดสารเสพติด ทักษะการปฏิเสธเพื่อป้องกัน ตนเองจากการใช้สารเสพติด 1. ไม่หลงเชื่อคำชักชวน 2. รู้จักหลีกเลี่ยงการคบหาคนที่ติดสารเสพติด 3. ไม่หลงเชื่อคนแปลกหน้าที่เข้ามาพูดคุยกับเรา 4. ไม่ทดลองเสพสารเสพติด

หมายถึงพฤติกรรมการใช้อำนาจ กำลัง หรือความ ก้าวร้าวในการตัดสินใจ ความรุนแรง หมายถึงพฤติกรรมการใช้อำนาจ กำลัง หรือความ ก้าวร้าวในการตัดสินใจ

1. การอบรมเลี้ยงดูเริ่มตั้งแต่วัยทารก แนวทางการแก้ไขปัญหา ความรุนแรง 1. การอบรมเลี้ยงดูเริ่มตั้งแต่วัยทารก 2. ต้องไม่ใช้ความรุนแรงให้เด็กเห็น 3. พ่อแม่ต้องสอนให้เด็กเรียนรู้ใน การปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน

เลือกหนังสือ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์เพื่อ ป้องกันปัญหาความรุนแรง เลือกหนังสือ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ อินเตอร์ จัดให้เหมาะสมกับเด็กและเยาวชนอย่างสร้าง สรรค์ให้เกิดจินตนาการส่งเสริมสติ ปัญญา ความคิด และคุณธรรมจริยธรรมต่อสังคมและประเทศชาติ