มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ Human Relations in Organizations โดย อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
การติดต่อสื่อสาร การติดต่อสื่อสารหมายถึงอะไร กระบวนการส่ง และแลกเปลี่ยนข่าวสาร ข้อมูล และ ความรู้สึกนึกคิด ระหว่างบุคคล หรือกลุ่มบุคคล โดยทั้งสองฝ่าย ต่างมีความเข้าใจที่ตรงกัน ส่งผลให้การปฏิบัติงานบรรลุ ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร ข่าวสาร ความสัมพันธ์กันในการติดต่อสื่อสาร การดำเนินการติดต่อสื่อสาร
ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback Data) กระบวนการติดต่อสื่อสาร ผู้ส่งข่าว ช่องทางการติดต่อสื่อสาร ผู้รับข่าวสาร Sender Transmission Receiver ความคิด ข่าวสาร การแปลความหมาย Idea Information Interpretation การเข้ารหัส การกระทำ Encode Action ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback Data)
ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ภาษาเขียน เช่น การนันทึกข้อความ คำสั่ง ใบปลิว ประกาศ รายงาน บัตรสนเทห์ ฯลฯ ภาษาพูด เช่น การสนทนา การสั่งการ ประกาศเสียงตามสาย การปราศรัย แถลงการณ์ ฯลฯ
ข้อสังเกต การติดต่อสื่อสารของมนุษย์นั้น ทักษะการฟังเป็นทักษะ ที่มนุษย์ใช้มากที่สุดเพราะสามารถทำให้เราเข้าใจผู้อื่นได้ หากฟังไม่รู้เรื่อง...อาจทำให้การสื่อสารผิดพลาด และ ขาดประสิทธิภาพได้... ผลการวิเคราะห์....มนุษย์ใน 1 วัน เขียนหนังสือ 9 % อ่านหนังสือ 16 % พูด 30 % ฟัง 45 %
ให้คะแนนตามที่คุณได้แสดงพฤติกรรมต่อไปนี้ กิจกรรมทดสอบการพัง ให้คะแนนตามที่คุณได้แสดงพฤติกรรมต่อไปนี้ พฤติกรรม / ความถี่ สม่ำเสมอ บ่อยครั้ง บางครั้ง ไม่เคยเลย 1. ให้ความสนใจอย่างจริงจังเมื่อคนอื่นกำลังพูด 4 3 2 1 2. มองสบตาผู้พูด 3. มีปฏิกิริยาตอบรับด้วยท่าทาง เช่น พยักหน้าเพื่อแสดงว่ากำลังฟังอยู่ 4. จดบันทึกเมื่อมีข้อเสนอแนะ หรือข้อมูลสำคัญ 5. ฟังจนจบก่อนแล้วจึงค่อยพูด 6. สนใจเนื้อหาสาระมากกว่ารายละเอียดปลีกย่อย 7. ยอมรับความคิดเห็นดีๆของผู้อื่น 8. เลือกรูปแบบการสื่อสารตามประเภทของคนเพื่อให้เขาเข้าใจได้ดี 9. สนใจสิ่งที่คนอื่นพูดไปแล้ว 10. มีความอดทนกับคนที่มีปัญหาในการพูดคุยสื่อสาร
รวมคะแนนแล้วดูว่าคุณเป็นนักฟังที่ดีขนาดไหน 35 – 40 คะแนน คุณเป็นนักฟังที่ดี รักษาความดีเอาไว้แล้วทำดีต่อไป 30 – 34 คะแนน คุณจะสนใจฟังคนอื่นก็ต่อเมื่อเขาพูดเรื่องที่คุณสนใจ ซึ่งอาจทำให้ คุณพลาดแนวความคิดดีๆไป ถ้าตั้งใจฟังให้ตลอดจะทำให้คุณมีส่วนร่วมมากขึ้น ต่ำกว่า 30 คะแนน ถ้าอยากจะเป็นนักฟังที่ดี คุณควรเริ่มจากการฝึกทักษะด้วยการให้ความ สนใจสิ่งที่คนอื่นกำลังพูดอย่างจริงจัง สงบใจ หรือไม่ก็กัดปากตัวเองไม่ให้พูด สอดแทรก และ วิจารณ์ จนกว่าเขาจะพูดเสร็จแล้วจึงค่อยเสนอความคิดเห็นของ ตนเองเข้าไป