การจัดเก็บภาษีรถจักรยานยนต์ -นำเข้า -นำมาประกอบ ใหม่ (ผลิต) -ถูกจับดำเนินคดี ฝ่ายป้องกันและปราบปราม สนง.สรรพสามิตภาคที่ 3
การนำเข้ารถจักรยานยนต์(ที่ใช้แล้ว) การนำเข้ารถจักรยานยนต์ทั้งคัน การนำเข้าในลักษณะชิ้นส่วน
การชำภาษีการนำเข้าทั้งคัน ชำระภาษีพร้อมกับการชำระอากรขาเข้าของศุลกากร ณ ด่านศุลกากร (กรมศุลฯเก็บภาษี) ภาษีศุลกากร = ภาษีสรรพสามิต = ภาษีสรรพากร = ราคา C.I.F X อากรขาเข้า (อธิบดีกรมศุลฯ หรือเจ้าพนักงาศุลฯ กำหนดหรือประเมินราคาสินค้าได้) ราคา C.I.F + อากรขาเข้า+ค่าธรรมเนียมอื่นๆ X อัตราภาษีสรรพสามิต ราคา C.I.F + อากรขาเข้า + ภาษีสรรพสามิต X อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม
การนำเข้าลักษณะชิ้นส่วนเก่า -ชำระภาษีศุลกากร (อากรขาเข้า) ในรูปของชิ้นส่วนเก่าในลักษณะของชิ้นส่วนของ เครื่องยนต์ หรือซากรถจักรยานยนต์ -นำมาประกอบ หรือผลิตตัวรถจักรยานยนต์โดยใช้วัสดุภายในประเทศ โดยผู้ ประกอบอุตสาหกรรมตามมาตรา 4 (พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต) -ยื่นแบบเพื่อชำระภาษี โดยใช้ราคาขาย ณ โรงงานอุตสาหกรรม หรือ ตามราคาที่ อธิบดีประกาศกำหนด ตามมาตรา 8 (พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต) -นำรถจักรยานยนต์ไปให้ ม.อ.ก. ตรวจเพื่อรับรองสภาพของรถจักรยายนต์ -นำหลักฐานการชำระภาษีสรรพสามิต และใบรับรองของ ม.อ.ก. ไปยื่นขนส่งเพื่อ ขอจดทะเบียน
ราคาขาย ณ โรงงาน (โครงสร้างราคา) ราคาชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ที่นำเข้า (ตามใบ Invoice) ราคาวัสดุอุปกรณ์ในประเทศที่ใช้ในการประกอบหรือผลิตรถจักรยานยนต์ ค่าแรงงานที่ใช้ในการผลิต ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการผลิต (ค่าน้ำ ค่าไฟ ฯลฯ) กำไรจากการผลิตสินค้า
ราคาตามมูลค่า ภาษีสรรพสามิตคำนวณได้จาก ราคาขาย ณ โรงงาน x อัตราภาษี ราคามูลค่า = ราคาขาย ณ โรงงาน + ภาษีสรรพสามิตที่พึงชำระ (ภาษีสรรพสามิต + รายได้มหาดไทย) ภาษีสรรพสามิตคำนวณได้จาก ราคาขาย ณ โรงงาน x อัตราภาษี 1 - ( 1 - 1.1 x อัตราภาษี)
มาตรา 8 มาตรา 8 ......การเสียภาษีตามมูลค่านั้น ให้ถือมูลค่าตาม (1)(2)และ(3) โดยให้รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงชำระด้วย ดังนี้ (1)ในกรณีสินค้าที่ผลิตในราชอาณาจักรให้ถือตามราคาขาย ณ โรงงานอุตสาหกรรม ในกรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงงานอุตสาหกรรม หรือราคาขาย ณ โรงงานอุตสาหกรรมมีหลายราคา ให้ถือตามราคาที่อธิบดีกำหนดตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี อธิบดีโดยอนุมัติรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศมูลค่าของสินค้าที่ผลิตในราชอาณาจักร เพื่อถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษี โดยกำหนดกำหนดจากราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรมในตลาดปกติได้ (2) ในกรณีบริการ ให้ถือตามรายรับของสถานบริการ (3)ในกรณีสินค้าที่นำเข้า ให้ถือราคา ซี.ไอ.เอฟ. ของสินค้าบวกด้วยอากรขาเข้า ค่าธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน และภาษี และค่าธรรมเนียมพิเศษ.........................
การจับกุมดำเนินคดีรถจักรยายนต์ที่ไม่เสียภาษี ดำเนินคดีกับผู้ครอบครองตาม ม.161(1) หรือ ม.162(1) ประเมินมูลค่าสินค้าเพื่อใช้ในการคำนวณค่าปรับ โดยเจ้าพนักงานผู้เปรียบเทียบตามมาตรา 132 เมื่อคดีสิ้นสุด ให้ชำระภาษีตาม ม.163
มาตรา 132 มาตรา 132 ในกรณีที่ต้องประเมินมูลค่าของสินค้าเพื่อประโยชน์ในการกำหนดค่าปรับ ให้ถือมูลค่าของสินค้าชนิดเดียวกันซึ่งได้เสียภาษีโดยถูกต้องแล้วในเวลาหรือใกล้เวลาที่กระทำความผิดนั้น ถ้าไม่มีสินค้าชนิดเดียวกัน ให้ถือมูลค่าของสินค้าที่มีลักษณะใกล้เคียงกันตามที่ซื้อขายกันในเวลาดังกล่าว
เส้นทางการนำเข้ารถจักรยานยนต์ที่ใช้แล้ว เส้นทางตามกฎหมาย ด่านศุลกากร (อากรขาเข้า+ภาษีสรรพสามิต+VAT) ออกนอกเส้นทาง แจ้งการนำเข้าเป็นชิ้นส่วน (อากรขาเข้า+VAT) เสียภาษีสรรพสามิต(ผลิต) ถูกประเมินราคาตาม ม.8 ถูกจับกุมตาม ม.161 (ราคาประเมิน ม.132) เสียภาษีตาม ม.163