ฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
ความหมายของโครงงาน.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
ดนตรีไทยวงเครื่องสายบนโทรศัพท์มือถือ Siam String Musical on Mobile
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
Thesis รุ่น 1.
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ดุษฎีนิพนธ์ (Ph.D.,) ของ Hashimi, Mohd Nasir
การพัฒนาองค์กรด้วยนวัตกรรม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
การเขียนข้อเสนอโครงการ
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
Development of E-Course on Photography by Digital Camera for Mahidol University Students โครงการพัฒนาอีคอร์ส รายวิชาการ ถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอล สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
โดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
การสร้างชุดสาธิตอาการเสียแอลซีดีมอนิเตอร์
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย นายมนตรี นุชดอนไผ่ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้นำเสนอ : นายสมชาย รัศมี นิสิตปริญญาเอกสาขาการจัดการเทคโนโลยี

วัตถุประสงค์ในการวิจัย เพื่อศึกษากระบวนการผลิตฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับ เครื่องหนังไทย เพื่อศึกษาคุณภาพของฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย เพื่อทดลองใช้เสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทยในงานดนตรีกรรมชิ้นใหม่

ขอบเขตของการวิจัย เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องหนัง ๔ ชนิด คือ ตะโพนไทย กลองทัด กลองแขก และโทน-รำมะนา กำหนดคุณสมบัติของนักดนตรีเฉพาะ “คนเครื่องหนัง” นายสุทัศน์ แก้วกระหนก สำนักสวัสดิการสังคม กทม. เป็นผู้บรรเลงตะโพนไทยและกลองแขก นายสมพงษ์ พงษ์พรหม สำนักสวัสดิการสังคม กทม. เป็นผู้บรรเลงกลองทัดและกลองแขกตัวผู้ อาจารย์อานันท์ นาคคง เป็นผู้บรรเลงโทน-รำมะนา วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ขอบเขตการวิจัยต่อ แบ่งลักษณะของเสียงต้นแบบเป็น ๓ หมวดหมู่ ดังนี้ ระบบเสียงเดี่ยวของกลองทุกชนิดอยู่ในหมวดเสียง ONE SHOTS หน้าทับปรบไก่พื้นฐาน หน้าทับสองไม้พื้นฐาน หน้าทับเพลงภาษาปกติ อยู่ในหมวดเสียง Loops เสียงพิเศษอื่น ๆ และลูกเล่นต่าง ๆ จัดให้อยู่ในหมวดเสียง Extras

กรอบแนวคิด ฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย ลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรี กระบวนการบันทึกเป็น เสียงอิเล็กทรอนิกส์ กระบวนการทดลองนำไปใช้ ในการดนตรีกรรมชิ้นใหม่ ที่มา ความสำคัญ บทบาทในการบรรเลง คุณลักษณะและคุณภาพ เครื่องดนตรี สัมมนาการฟังงานทดลอง การนำไปใช้ ระบบเสียงเครื่องหนังไทย กระบวนการสรรหาผู้บรรเลง วิเคราะห์ประเมินผลการนำไปใช้ กระสวนจังหวะ หน้าทับ กระบวนการทางเทคโนโลยี สรุปผลการนำไปใช้ ผลิตภัณฑ์เสียงอิเล็กทรอนิกส์ แบบฉบับเครื่องหนังไทย ผลสรุปการนำไปใช้ของเสียง อิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับ เครื่องหนังไทย

การทบทวนวรรณกรรม การศึกษาธรรมชาติของเสียง (Acoustic of Sound) เทคโนโลยีการบันทึกเสียง ระบบเสียงดิจิตอล เครื่องหนังไทย ตะโพนไทย กลองทัด กลองแขก โทน-รำมะนา เทคนิคการบรรเลง ระบบฐานข้อมูล

วิธีดำเนินการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อสารสนเทศ การเก็บข้อมูลภาคสนาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ขั้นตอนการบันทึกเสียงตัวอย่างต้นแบบ ขั้นตอนการจัดกระทำข้อมูลเสียงตัวอย่างต้นแบบที่บันทึกได้ ขั้นตอนทดลองนำไปใช้ ขั้นตอนสัมมนาการฟัง สรุปผลและวิเคราะห์ นำเสนอข้อมูล

สรุปผลการวิจัย เพื่อศึกษากระบวนการผลิตฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับ เครื่องหนังไทย ได้ผลิตภัณฑ์ฐานข้อมูลในรูปแบบ CD-ROM Sound Samplersให้ชื่อว่า “Traditional Thai Drums Sound Samplers” เพื่อศึกษาคุณภาพของฐานข้อมูลเสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทย คุณภาพของเสียงที่ได้ ดี สมจริง มีความต่อเนื่อง เพื่อทดลองใช้เสียงอิเล็กทรอนิกส์แบบฉบับเครื่องหนังไทยในงานดนตรีกรรมชิ้นใหม่ สามารถนำต้นแบบเสียงอิเล็กทรอนิกส์ไปใช้งานได้จริง

ผลการวิเคราะห์ของผู้นำเสนอ ประโยชน์ต่อวงการอุตสาหกรรมเพลงไทย ประโยชน์ในการเผยแพร่วัฒนธรรมด้านเครื่องหนังประกอบจังหวะ เกิดคุณค่าเพิ่มทางการศึกษา การพัฒนาต่อยอด มูลค่าทางธุรกิจ เช่นด้านสิทธิบัตรของแบบเสียง หรือฐานข้อมูล การสนับสนุนให้ผู้ผลิตงานเพลงนำเสียงในวัฒนธรรมดนตรีไทยไปใช้ในงานดนตรีกรรม

จบการนำเสนอ