Alternative Strategies

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Alternative Strategies การวิเคราะห์งานวิจัย Alternative Strategies for Teaching Critical Thinking กลยุทธ์ทางเลือกสำหรับการสอนการคิดเชิงวิเคราะห์ สมรวย อภิชาตบุตรพงศ์ - ผู้วิจัย มหาวิทยาลัยซิดนีย์เทคโนโลยี ออสเตรเลีย นางสาวพงษ์จิตต์ เกตุภู่พงษ์ - ผู้วิเคราะห์ 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG PONGJIT KETPUONG

บทคัดย่อ สำหรับศตวรรษที่ 21 การฝึกอบรมเยาวชนให้มีทักษะหลากหลายเช่น การใช้คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการสื่อสาร และการคิดอย่างมีวิจารณญาณเป็นสิ่งจำเป็น ทักษะเหล่านี้มีความสำคัญ ต่อการเรียนรู้ชั่วชีวิตและการเรียนรู้แบบยืดหยุ่น 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG

บทคัดย่อ (ต่อ) โดยเฉพาะทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณเป็นทักษะพื้นฐานสำคัญซึ่งควรจะมีการสอนในมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีการสื่อสารต่างๆและการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีส่วนสำคัญในการพัฒนาทักษะเหล่านี้ 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG

คำสำคัญ Teaching strategies Critical thinking Co-operative learning CAI Online Learning Flexible learning 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของ Watson – Glaser การสอน 3 รูปแบบ - Taditional - CAI - Co-operative 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG

วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรได้แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ภาควิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 สุ่มเลือก 120 คน และแบ่งเป็น 3 กลุ่ม (38 40 42) ใช้รูปแบบการสอน 3 รูปแบบ - กลุ่ม 1 Traditional (38 คน) - กลุ่ม 2 CAI (40 คน) - กลุ่ม 3 Co-operative (42 คน) 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) แต่ละกลุ่มจะถูกฝึกให้คิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และบทเรียนที่เรียนแบบร่วมกัน ในขณะที่กลุ่มควบคุมจะถูกฝึกด้วยการบรรยายแบบดั้งเดิม เก็บข้อมูลโดยการ Pre & Post Test วิเคราะห์ข้อมูลโดย T-Test ,SD ,Anova 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG

ผลการวิจัย พบว่าการเปรียบเทียบระหว่างคะแนนของทั้งสามแนวทางในการเรียน คือ แบบดั้งเดิม แบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบเรียนร่วมกลุ่ม คะแนนที่ต่างกันของการสอนแบบต่างๆไม่ค่อยมีความสำคัญในเชิงสถิติ ข้อสำคัญของการวิจัยนี้คือกลยุทธ์ทางเลือกไม่ได้ทำให้นักศึกษามีผลงานที่อ่อนลง 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG

ข้อเสนอแนะ ระยะเวลาการวิจัย (มากกว่านี้) มีการฝึกอบรมขั้นพื้นฐานทักษะที่สำคัญในวิธีเรียนแบบทางเลือก CAI & Co-op สำหรับผู้เรียนที่ไม่มีประสบการณ์ การทดสอบกับนักศึกษาที่มีทักษะการเรียนแบบทางเลือกเปรียบเทียบกับไม่มีทักษะฯ 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG

เกี่ยวกับเทคโนโลยี เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์นำมาใช้เป็นอุปกรณ์เพื่อการศึกษา และถูกใช้เพื่อเปลี่ยนแปลงวิธีการสอนและเพื่อเข้าถึงผู้เรียนให้มากขึ้น เป็นวิจัยแบบ “ปรับใช้” เทคโนโลยี 9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG

9/9/2006 PONGJIT KETPUPONG