แผนพัฒนามหาวิทยาลัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนามหาวิทยาลัย

แนวคิดในการวางแผนการพัฒนามหาวิทยาลัยฯ ระดับที่ต้องการพัฒนาให้เป็น 2 ข้อเสนอแนะจาก workshop ทีมบริหาร สถานะ PSU_Foresight 2025 1 แผนฯ 10 มอ. ระดับที่เป็นอยู่ เวลา

แนวคิดในการวางแผนการพัฒนามหาวิทยาลัยฯ แผนฯ 10 มอ. มหาวิทยาลัยจัดทำ กรอบนโยบาย ; แนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยในช่วงปี พ.ศ.2550-2554 เพื่อเป็นทิศทางให้แต่ละคณะ/หน่วยงาน สานต่อในรูปแผนงาน/โครงการ เพื่อให้เกิดสัมฤทธิผลในการพัฒนาฯ PSU_Foresight 2025 เป็นการศึกษาวิเคราะห์ เพื่อประมวลภาพเหตุการณ์ ที่พึงเกิดขึ้นได้ในอนาคต ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนของสภาพแวดล้อมต่างๆ สำหรับเป็นประเด็นทางเลือกในการเตรียมความพร้อม รองรับสถานการณ์ที่มหาวิทยาลัยจะต้องเผชิญในอนาคต (ซึงจะนำเสนอ ทปค. อย่างต่อเนื่องต่อไป)

ระดับอุดมศึกษา ระยะที่ 10 แผนพัฒนาการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ระยะที่ 10 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (พ.ศ.2550-2554) (ร่าง)

ขั้นตอนการดำเนินงาน เมษายน 2550 พฤษภาคม 2550 9 เม.ย 50 เสนอหารือ Workshop ปรับปรุงร่าง 3 พค. 50 เสนอที่ประชุมคณบดี ปรับปรุงร่าง 12 พค. 50 เสนอสภามหาวิทยาลัย คณะ/หน่วยงานใช้เป็นแนวทางจัดทำแผนฯ

กรอบในการยกร่าง วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ของมหาวิทยาลัย คงเดิม ; เนื่องจากกระบวนการพัฒนาวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมมาอย่างหลากหลายมาก และยังมีความทันสมัย สามารถใช้เป็นทิศทางการพัฒนาต่อเนื่องของมหาวิทยาลัยได้อย่างเหมาะสม เป้าประสงค์ ของมหาวิทยาลัย ใช้กรอบแนวทางเดิม ; เพื่อให้คณะ/หน่วยงานมีความเข้าใจเป้าหมายการพัฒนาที่ต่อเนื่อง แต่มีการปรับให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ มากขึ้น

วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน พันธกิจ พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นชุมชนทางวิชาการ ตั้งแต่ระดับท้องถิ่นไปจนถึงระดับนานาชาติ โดยให้ผู้ใฝ่รู้ได้มีโอกาสเข้าถึงความรู้ในหลากหลายรูปแบบ สร้างความเป็นผู้นำทางวิชาการ ในสาขาที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นฐานของภาคใต้ และเชื่อมโยงสู่เครือข่ายสากล ผสมผสานและประยุกต์ความรู้บนพื้นฐานประสบการณ์การปฏิบัติสู่การสอนเพื่อสร้างปัญญา สมรรถนะและโลกทัศน์สากลให้แก่บัณฑิต

แนวคิดทฤษฎี เศรษฐกิจพอเพียง แผนฯ สภาพัฒน์ แผนฯ สภาการศึกษา แนวทางการพัฒนา ของ สกอ. ร่างแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯ 2550-2554

ประเด็นเป้าประสงค์ ช่วงวาระปี 46-49 ; 6 เป้าประสงค์ วิทยาเขตเข้มแข็ง /การจัดการ System การบริหาร LO/TQM/KM การจัดการศึกษา สมรรถนะบัณฑิต กระจายโอกาส +บริการวิชาการ วัฒนธรรม/เน้นการวิจัย เป็นเลิศ ผู้นำวิชาการ 6 เป้าประสงค์+1 แผนงานหลัก ช่วงวาระปี 50-54 ; การบริหาร/จัดการมหาวิทยาลัย การจัดการ LO/TQM/KM การแก้ปัญหาระบบการศึกษา 3 จว. การจัดการศึกษา สมรรถนะบัณฑิต กระจายโอกาส +บริการวิชาการ เป็นเลิศ ผู้นำวิชาการ วัฒนธรรม/เน้นการวิจัย

เป้าประสงค์ เพื่อเสริมสร้างคุณค่างานวิจัยให้เป็นแก่นความรู้เฉพาะทางที่เป็นเลิศ และพัฒนาให้เกิดรูปธรรมของนวัตกรรม สำหรับขับเคลื่อนอนาคต และก้าวสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำ เพื่อเสาะหาวิชชาอันก่อเกิดเป็นทุนวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่มหาวิทยาลัยวิจัย สามารถถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีเพื่อยกระดับศักยภาพชุมชนเข้มแข็ง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระดับนานาชาติ เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ ดำรงด้วยคุณธรรมบนพื้นฐานความเป็นไทย มีทักษะชีวิต สำนึกสาธารณะ และสมรรถนะสมบูรณ์สู่ตลาดงานสากล

เป้าประสงค์ (ต่อ) เพื่อสร้างบริบททางวิชาการที่เปิดกว้าง ต่อการแสวงหาความรู้ ด้วยมิติ/รูปแบบ/ภารกิจ/ที่มีการบูรณาการอย่างหลากหลายและทั่วถึง ที่เป็นการเสริมสร้างทรัพยากรบุคคลในท้องถิ่นสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เพื่อการดำเนินยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสอดรับกับการบริหารมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต ภายใต้ กรอบปฏิบัติตามหลักธรรมมาภิบาล เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ และปรับวัฒนธรรมองค์กร สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีการสร้างสม และจัดการองค์ความรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างมั่นคงยั่งยืน

+ แผนงานหลัก ให้มหาวิทยาลัย ขับเคลื่อนระบบบริหารหลายวิทยาเขตให้มีบทบาทและสามารถสนองตอบการแก้ปัญหาและการพัฒนาระบบการศึกษาในพื้นที่ 3จังหวัดชายแดนภาคใต้

กลยุทธ์ของ มหาวิทยาลัย การประมวล/สังเคราะห์กลยุทธ์ Workshop ทีมบริหาร >80% อื่น ๆ >10-15% กลยุทธ์ของ มหาวิทยาลัย ร่าง สภาการศึกษา >5-10%

เป้าประสงค์ การกำหนดตัวชี้วัด กลยุทธ์มหาวิทยาลัย 1) ตัวชี้วัดความสำเร็จ (ระดับเป้าประสงค์) -มุ่งสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสู่ความสำเร็จใน การพัฒนามหาวิทยาลัย กลยุทธ์มหาวิทยาลัย 2) ตัวชี้วัดความสำเร็จ (ระดับการดำเนินงาน) -มุ่งสะท้อนการดำเนินงานในการพัฒนาส่วนสำคัญ ๆ ต่าง ๆ ที่เลือกมาเป็นกลยุทธ์มหาวิทยาลัย

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 1 1) พัฒนาให้เกิดเครือข่ายทีมวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ทั้งในรูป Research Unit (RU) หรือ Research Center (RC) ในสาขาที่มีศักยภาพพร้อมพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ และเรื่องที่เป็นบริบทแวดล้อมของภาคใต้ ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 1 เพื่อเสริมสร้างคุณค่างานวิจัยให้เป็นแก่นความรู้เฉพาะทางที่เป็นเลิศ และพัฒนาให้เกิดรูปธรรมของนวัตกรรมสำหรับ ขับเคลื่อนอนาคต และก้าวสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำ 2) ก่อตั้งสถานวิจัย/สถาบันวิจัยเฉพาะทาง เพื่อรองรับงานวิจัยที่มีทิศทางและมีผลลัพธ์ข้อตกลงที่ชัดเจน โดยให้มีการเชื่อมโยงกับบัณฑิตศึกษา 3) กำหนดสาขาพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ และวางระบบการพิจารณา/ สรรหาสาขาที่มีศักยภาพขับเคลื่อนสู่ความเป็นเลิศได้อย่างรวดเร็ว ทั้งในกรอบโครงการ Center of Excellence ของสกอ. และสาขาความเป็นเลิศในกรอบเป้าหมายของมหาวิทยาลัย - จำนวนสิทธิบัตร/ลิขสิทธ์ - สถานภาพการจัดลำดับมหาวิทยาลัยในภาพรวม และภาพสาขาวิชา - ดำรงอยู่ในระบบเครือข่ายสาขาความเป็นเลิศระดับอุดมศึกษา

ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน) 4) ต่อยอดนวัตกรรมสู่การแปลงให้เกิดสัมฤทธิ์ผลการพัฒนา และสร้างเป็นทรัพย์สินทางปัญญา ตำราหรือผลงานวิชาการ ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 1 5) พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน และองค์ประกอบสนับสนุน การสร้างความเชี่ยวชาญสู่ความเป็นเลิศ และให้สามารถดำรงสถานภาพอยู่ได้อย่างยั่งยืน เพื่อเสริมสร้างคุณค่างานวิจัยให้เป็นแก่นความรู้เฉพาะทางที่เป็นเลิศ และพัฒนาให้เกิดรูปธรรมของนวัตกรรมสำหรับ ขับเคลื่อนอนาคต และก้าวสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำ 6) สร้างการดำเนินงานเชิงกลยุทธ์ในบริบทของอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้เพื่อให้ระบบเครือข่ายเสริมสร้างบทบาทมหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน) จำนวนสาขาความเป็นเลิศ (ที่ผ่านการพิจารณาให้เร่งรัดการพัฒนา) จำนวนสถานวิจัย/สถาบันวิจัยเฉพาะทาง (ที่ผ่านการพิจารณาให้เร่งรัดการพัฒนา) ความสำเร็จในการกำหนด node เครือข่ายการพัฒนาในอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ Process สิทธิบัตร/ลิขสิทธ์

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 2 1) พัฒนาบุคลากรเชิงการบ่มเพาะ เพื่อสอดแทรกให้เกิดการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมให้เกิดการสร้างงานวิจัยมากขึ้น ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 2 2) ปรับโครงสร้างภารกิจถึงระดับภาควิชา/สาขาวิชา ให้เน้นการสร้างงานวิจัยมากขึ้นและสอดคล้องกับการพัฒนาบัณฑิตศึกษาของคณะวิชา เพื่อเสาะหาวิชชาอันก่อเกิดเป็นทุนวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่มหาวิทยาลัยวิจัย สามารถถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีเพื่อยกระดับศักยภาพชุมชนเข้มแข็ง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระดับนานาชาติ 3) จัดรูปแบบการรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ให้ได้ตามจำนวนที่ก่อให้ เกิดประสิทธิภาพเชิงต้นทุน และเน้นนำสู่การทำวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา 4) เสริมศักยภาพของบุคลากรและหน่วยงาน ในการสร้างความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านทุนวิจัย โดยปรับการมุ่งเน้นให้กองทุนวิจัยเป็นส่วนเกื้อหนุนระบบงานบัณฑิตศึกษาและวิทยานิพนธ์เป็นหลัก - จำนวน paper/คน/ปี - จำนวนอาจารย์ active วิจัย

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 2 5) กำหนดให้มาตรฐานภาระงาน สาย ก มีภาระงานด้านการทำวิจัยที่เหมาะสม สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาหน่วยงาน ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 2 6) สร้างระบบการจัดการภายใน เพื่อเปิด/ขยายโอกาสให้ มหาวิทยาลัยมีศักยภาพเชิงรุกในการเข้าถึงแหล่งทุนวิจัยภายนอก และกำกับให้การดำเนินงานวิจัยลุล่วง แล้วเสร็จตามที่กำหนด เพื่อเสาะหาวิชชาอันก่อเกิดเป็นทุนวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่มหาวิทยาลัยวิจัย สามารถถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีเพื่อยกระดับศักยภาพชุมชนเข้มแข็ง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระดับนานาชาติ 7) ยกระดับวารสารสงขลานครินทร์ให้เข้า เกณฑ์การจัดประเภทเป็นวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ เพื่อรองรับ/สนับสนุนการตีพิมพ์ให้สามารถสนองเป้าหมายการพัฒนา 8) ปรับการพัฒนาฐานข้อมูลวิจัย จากสนับสนุนการดำเนินงานประจำ สู่ระบบข้อมูลแหล่งทุนเชิงลึกในการบริหารงานวิจัย และให้ถึงระดับการสนองภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยเน้นวิจัย

ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน) ร่างแผนพัฒนาฯ 9) ผลักดันการวิจัยเชิงพันธะกับภาคอุตสาห กรรม /และการวิจัยร่วมกับสมาคมวิชาชีพหรือท้องถิ่น เป้าประสงค์ 2 เพื่อเสาะหาวิชชาอันก่อเกิดเป็นทุนวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่มหาวิทยาลัยวิจัย สามารถถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีเพื่อยกระดับศักยภาพชุมชนเข้มแข็ง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระดับนานาชาติ งบประมาณเพื่อการวิจัย (ต่อคนต่อปี) งบวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก จำนวนนักศึกษาปริญญาเอก Honor Program (จำนวนหลักสูตร) ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน)

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 3 1) บริหารประสิทธิภาพในการรับนักศึกษา ให้เข้าสู่ระบบการจัดการศึกษาได้ตามเป้าหมายแผนการรับนักศึกษาที่กำหนดไว้ ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 3 2) จัดการระบบมาตรฐานในทุกหลักสูตร ให้คุณภาพบัณฑิตมีศักยภาพสูงเพื่อเสริมสมรรถนะในการเข้าสู่ตลาดงานสากล เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ความ สามารถ ดำรงด้วยคุณธรรมบนพื้นฐานความเป็นไทย มีทักษะชีวิต สำนึกสาธารณะ และสมรรถนะสมบูรณ์สู่ตลาดงานสากล 3) ให้มีการกำกับคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างใกล้ชิดในสาขาวิชาที่ต้องมีการสอบรับรองจากหน่วยงานภายนอก และหรือสาขาวิชาที่ต้องเปิดเสรีในตลาดงานสากล 4) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาทุกรูปแบบหรือสื่อการสอนสำเร็จรูป เพื่อช่วยในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา - ร้อยละของการมีงานทำและประกอบอาชีพอิสระ - ระดับความพึงพอใจนายจ้าง &ผู้ประกอบการ - บัณฑิตที่มีความเข้มแข็งทาง Eng + IT

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 3 5) จัดการ การบ่มเพาะนักศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อลดอัตราการตกออกโดยเฉพาะนักศึกษาปีที่ 1 และนักศึกษาอ่อน และเอื้อต่อการลดระยะเวลาการสำเร็จการศึกษา ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 3 เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ความ สามารถ ดำรงด้วยคุณธรรมบนพื้นฐานความเป็นไทย มีทักษะชีวิต สำนึกสาธารณะ และสมรรถนะสมบูรณ์สู่ตลาดงานสากล 6) พัฒนากิจกรรมนักศึกษาให้นักศึกษาสามารถสะท้อนภาวะผู้นำ ทักษะชีวิต และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างดี 7) พัฒนารูปแบบ/วิธีการจัดการศึกษาแบบควบคู่ในระบบสองปริญญา เพื่อเติมเต็มความรู้ความสามารถ ให้กับนักศึกษามากขึ้น 8) กำหนดกรอบแม่บทการพัฒนาการจัดการหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ในบริบทของมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต ที่สามารถก่อให้เกิดประสิทธิผลเชิงคุณภาพ

ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน) 9) เพิ่มกิจกรรมการดำเนินงาน ที่เป็นการเชื่อมโยง/รักษาระดับความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับบัณฑิตและศิษย์เก่า และวางบทบาทให้มีความภูมิใจกับความเป็นสงขลานครินทร์และพร้อมต่อการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 3 เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ความ สามารถ ดำรงด้วยคุณธรรมบนพื้นฐานความเป็นไทย มีทักษะชีวิต สำนึกสาธารณะ และสมรรถนะสมบูรณ์สู่ตลาดงานสากล ประสิทธิภาพในการผลิตบัณฑิต ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษา จำนวนหลักสูตรนานาชาติ +หลักสูตร 2 ภาษา จำนวนหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน จำนวน CAI  จำนวนนักศึกษาต่างชาติ ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน)

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 4 1) เน้นการกระจายโอกาสทางการศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ที่เปิดให้ทุกกลุ่ม เป้าหมาย สามารถเข้าสู่กระบวนการ/กิจกรรมของมหาวิทยาลัยได้อย่างสะดวก ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 4 2) จัดการเชื่อมโยงการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยให้สามารถต่อยอดเข้ากับระบบการจัดการศึกษาปกติ ได้อย่างลงตัว เพื่อสร้างบริบททางวิชาการที่เปิดกว้าง ต่อการแสวงหาความรู้ ด้วยมิติ/รูปแบบ/ภารกิจ/ที่มีการบูรณาการอย่างหลากหลายและทั่วถึง ที่เป็นการเสริมสร้างทรัพยากรบุคคลในท้องถิ่นสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 3) พัฒนาระบบการตลาดการบริการวิชาการ ทั้งลักษณะการเปิดหลักสูตรพิเศษ และการอบรม/สัมมนาเพื่อให้สามารถดำเนินกิจกรรม ได้อย่างคุ้มค่า และยกระดับมาตรฐานการ ศึกษาของชุมชน/สังคม 4) ให้มีการเชื่อมโยงระบบมาตรฐานการเทียบความรู้ สู่กระบวนรายวิชา เพื่อให้กระบวนการจัดการศึกษาเปิดกว้างและมีรูปแบบที่ยืดหยุ่นมากขึ้น - จำนวนหลักสูตร online ที่จัดการเรียนการสอนในรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือน

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 4 5) จัดระบบข้อมูลและระบบจัดการทรัพยากรองค์ความรู้ เพื่อเป็นฐานในการเสริมสร้างก่อเกิดแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย เพื่อการถ่ายทอดวิชาการ ทั้งในลักษณะทรัพยากรบุคคล/ทักษะชำนาญการ/สื่อให้สามารถสนอง ตอบตามความต้องการได้ตามเฉพาะกรณี ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 4 เพื่อสร้างบริบททางวิชาการที่เปิดกว้าง ต่อการแสวงหาความรู้ ด้วยมิติ/รูปแบบ/ภารกิจ/ที่มีการบูรณาการอย่างหลากหลายและทั่วถึง ที่เป็นการเสริมสร้างทรัพยากรบุคคลในท้องถิ่นสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 6) เร่งพัฒนาการผลิตสื่อการเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมายทุกระดับ เพื่อสร้างโอกาสในการใฝ่หาความรู้ โดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยีต่าง ๆที่สามารถนำสู่การถ่ายทอดเพื่อเร่งเสริมการเรียนรู้ของประชาชนและนักเรียนในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 7) วางระบบการบริหารจัดการภารกิจการบริการวิชาการแบบเบ็ดเสร็จและครบวงจร เพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารการมอบหมายงานได้อย่างสอดคล้องกับข้อเสนอภาระงานของบุคลากร และใช้ประสบการณ์ตรงให้เกิดคุณค่าต่อการจัดการเรียนการสอนนักศึกษา

ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน) 8) พัฒนาระบบเครือข่ายวิทยุกระจายเสียง 5 วิทยาเขตและสถานีร่วมบริการ ให้เกิดเป็นศูนย์ประชาสัมพันธ์และเวทีวิชาการ เพื่อให้ประชาชนตระหนักและดำรงคุณค่าให้มหาวิทยาลัยอยู่ควบคู่ชุมชนอย่างใกล้ชิด ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 4 เพื่อสร้างบริบททางวิชาการที่เปิดกว้าง ต่อการแสวงหาความรู้ ด้วยมิติ/รูปแบบ/ภารกิจ/ที่มีการบูรณาการอย่างหลากหลายและทั่วถึง ที่เป็นการเสริมสร้างทรัพยากรบุคคลในท้องถิ่นสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 9) เตรียมความพร้อมในการจัดการหอประชุม นานาชาติเทอดพระเกียรติฯให้เป็นศูนย์กลาง ภาคใต้ในการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างหลากหลายรูปแบบ และคุ้มค่า โดยมุ่งหวังให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด รายได้จากกิจกรรมบริการวิชาการ รายวิชาที่เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง จำนวนผู้เข้า Web มอ จำนวน COP Advance Program (จำนวน) ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน)

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 5 1) กำหนดแผนและทิศทางการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ให้มีความเป็นเอกลักษณ์ชัดเจนในแต่ละพื้นที่วิทยาเขต/เขตการศึกษา ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 5 2) ให้มีการสานสร้างการดำเนินงานอย่างบูรณาการ/เกื้อหนุนกันเป็นระบบ ทั้งภายในเขตการศึกษาและระบบมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต เพื่อการดำเนินยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสอดรับกับการบริหารมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต ภายใต้กรอบปฏิบัติตามหลักธรรมมาภิบาล 3) สร้างระบบการบริหารยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยและการจัดการเชิงรุก พร้อมทั้งพัฒนารูปแบบการบริหารมหาวิทยา ลัยหลายวิทยาเขตให้สามารถปรับกลยุทธการพัฒนาเฉพาะด้านได้อย่างทันเหตุการณ์ ระดับความมั่นคงทางการเงิน ; พิจารณาจาก - อัตราส่วนรายรับจริง/รายได้สะสม - อัตราการแสวงหารายได้เพิ่มขึ้น 4) วางระบบการพัฒนาระบบสนุบสนุนส่วนกลางให้เข้มแข็งในลักษณะศูนย์การบริหารการสนับสนุนกลาง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสนองความพอใจการให้บริการภายในได้อย่างดี

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 5 5) วางกรอบ การพัฒนาความก้าวหน้าของบุคลากรสายวิชาการอย่างเป็นระบบ ทั้งด้านระดับความรู้ และระดับความสามารถทางวิชาการ ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 5 6) กำหนดมาตรฐานการรับบุคลากรเข้าใหม่ และพัฒนา/ปรับระบบบริหารงานบุคคลให้มีพันธปฏิบัติในรอบการประเมินที่เป็นบรรทัดฐานเดียวกัน ทั้งข้าราชการและพนักงาน รวมถึงลูกจ้างชาวต่างประเทศ เพื่อการดำเนินยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสอดรับกับการบริหารมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต ภายใต้กรอบปฏิบัติตามหลักธรรมมาภิบาล 7) ให้มีระบบชุมชนสัมพันธ์ การตลาดเชิงรุก และประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ ในระดับมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และคณะ/หน่วยงานเพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นทางเลือกแรก ของสังคมและชุมชน

ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน) 8) บริหารความเป็นไปได้ในการแปลง สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ และสินทรัพย์ถาวรให้เกิดมูลค่า และสามารถใช้มูลค่าส่วนเพิ่มเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย ตามแนวทางของระบบบริหารแผนงบประมาณและการเงินระยะยาว ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 5 เพื่อการดำเนินยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสอดรับกับการบริหารมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต ภายใต้กรอบปฏิบัติตามหลักธรรมมาภิบาล 9) เชื่อมโยงระบบวิเทศน์สัมพันธ์ และประชาสัมพันธ์ ในทุกกรอบภารกิจ เพื่อเป็นการสร้างภาพลักษณ์มหาวิทยาลัย และเผยแพร่ขยายผลแก่นความรู้สู่เวทีวิชาการภายนอก Ph.D 50% ในปี 2552 มีระบบบริหารแผนงบประมาณและการเงินระยะยาว ความร่วมมือในการจัดการศึกษา การวิจัย และการบริการวิชาการ ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน)

ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 6 1) ปลูกฝังให้บุคลากรตระหนักถึงความจำเป็นที่ต้องแข่งขัน และเห็นเป้าหมายเป็นหนึ่งเดียวเพื่อให้การดำเนินงานแต่ละภาคส่วนบูรณาการ การบรรลุผลร่วมกัน ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 6 2) สร้างทัศนคติของบุคลากรให้เกิดความสมดุล บนพื้นฐานระหว่างคุณค่าและมูลค่าในการปฏิบัติงานและเกิด Best Practice เพื่อการพัฒนาการดำเนินงานที่มีเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ และปรับวัฒนธรรมองค์กร สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีการสร้างสม และจัดการองค์ความรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างมั่นคงยั่งยืน 3) พัฒนาระบบการทำงานเป็นทีม ทั้งบุคลากรหลักและสายสนับสนุน ควบคู่กับการมีจิตสำนึกแห่งการเรียนรู้และการแสวงหาปัญญาที่ถูกต้อง ชัดเจน ให้เกิดการสานต่อการปฏิบัติงานที่มีคุณค่าและพัฒนา สู่การสร้าง team learning เพื่อให้เกิดการสร้างสมความรู้อยู่กับองค์กร - อันดับการจัด world-class Ranking ดีขึ้น

ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน) 4) พัฒนาบุคลากรให้มีคุณวุฒิทางการศึกษา และตำแหน่งทางวิชาการสูงสุดตามเงื่อนไขความจำเป็นทางมาตรฐานหลักสูตร และรองรับ ต่อการขยายตัวทางด้านบัณฑิตศึกษา ร่างแผนพัฒนาฯ เป้าประสงค์ 6 5) พัฒนาระบบ KPI กับระบบการประกันคุณภาพ ให้เป็นฐานสำหรับพัฒนาระบบ Benchmarking และสร้างความพร้อมในการจัดอันดับมหาวิทยาลัย เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ และปรับวัฒนธรรมองค์กร สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีการสร้างสม และจัดการองค์ความรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างมั่นคงยั่งยืน 6) สานสร้างระบบ Knowledge Management และการสร้างสม/จัดเก็บองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดเป็นขุมความรู้ของมหาวิทยาลัย ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา มี Knowledge Bank ผลการประเมิน สมศ. สัดส่วนของบุคลากร /เกณฑ์ 3 สมศ ตัวชี้วัด(ระดับการดำเนินงาน) 7) แปลงระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลให้เข้าสู่วิถีการปฏิบัติงานประจำในทุกกระบวน/ระบบงาน

ร่างแผนพัฒนาฯ แผนงานหลักเฉพาะกิจ 1) กระจายโอกาสทางการศึกษา ในรูปแบบ/วิธี การที่หลากหลายเพื่อให้ นักศึกษาระดับมัธยม ศึกษาในพื้นที่สามารถเข้าสู่ระบบอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น ร่างแผนพัฒนาฯ แผนงานหลักเฉพาะกิจ 2) พัฒนาศาสตร์ทางด้านเทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีอุตสาหกรรม และวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ เพื่อการสนองตอบต่อการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพในระยะยาว ให้มหาวิทยาลัย ขับเคลื่อนระบบบริหารหลายวิทยาเขต ให้มีบทบาทและสามารถสนองตอบการแก้ปัญหาและการพัฒนาระบบการศึกษาในพื้นที่ 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ 3) สนับสนุนการให้ทุนนักศึกษา ทุนทำงานแลก เปลี่ยนแก่นักศึกษาในพื้นที่ เพื่อเป็นรายได้และ แบ่งเบาภาระทางเศรษฐกิจของครอบครัว และเป็นการดึงดูดนักศึกษาเข้าสู่ระบบอุดมศึกษามากขึ้น 4) เร่งพัฒนาการผลิตสื่อการเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมายทุกระดับ เพื่อสร้างโอกาสในการใฝ่หาความรู้ โดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่สามารถนำสู่การถ่ายทอดเพื่อเร่งเสริมการเรียนรู้ของประชาชนและนักเรียนในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ

ร่างแผนพัฒนาฯ แผนงานหลักเฉพาะกิจ 5) จัดกิจกรรมบริการวิชาการและร่วมกับหน่วยงานภายนอกเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ ที่เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ทั้งในลักษณะการสร้างมูลค่าเพิ่มจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ควบคู่กับทัศนคติการดำรงอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ร่างแผนพัฒนาฯ แผนงานหลักเฉพาะกิจ ให้มหาวิทยาลัย ขับเคลื่อนระบบบริหารหลายวิทยาเขต ให้มีบทบาทและสามารถสนองตอบการแก้ปัญหาและการพัฒนาระบบการศึกษาในพื้นที่ 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ 6) พัฒนาศักยภาพความพร้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อให้วิทยาเขตปัตตานีสามารถเอื้ออำนวยต่อการดำรงวิถีชีวิตประจำวัน และเกิดเป็นระบบภายในที่อยู่ภายใต้การสอดส่อง ดูแล และกำกับการรักษาความปลอดภัยได้ในระดับหนึ่ง

ทีมบริหารมหาวิทยาลัย การนำสู่การปฏิบัติ ความสัมพันธ์กับ แผนระดับชาติ ทีมบริหารมหาวิทยาลัย คณะ/หน่วยงาน ร่างแผนพัฒนาฯ กรอบแนวทางการพัฒนา วางระบบ+กำกับการพัฒนา แผนงาน/โครงการ

ระบบการจัดสรรทรัพยากร การดำเนินงานในระดับคณะ/หน่วยงาน ระบบการจัดสรรทรัพยากร คณะ/หน่วยงาน แผนกลยุทธ์ (คณะ/หน่วยงาน) +แผนงาน/โครงการ ระดับคณะ แผนงาน/โครงการ ระบบ+สนับสนุนการพัฒนา มหาวิทยาลัย

ขอขอบคุณ