สังคมศึกษา จัดทำโดย เด็กหญิงกมนณัทธ์ โชติกาณจนเรือง เลขที่ 16 เด็กหญิงชนิกานต์ อังคณาวรางคณา เลขที่ 21 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 เสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
“ โครงงานแบ่งปันความสุข ”
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กิจกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
การชุมนุมเพื่องานการเผยแผ่ธรรม
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
โครงงาน ศาสนพิธี.
Google Maps.
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
8 นาที.
มิตรภาพ Long & Winding Road.
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
เดินตามพ่อ อยู่อย่างพอเพียง หน้าหลัก ออกโปรแกรม.
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
การระดมทุนจากปัจเจกบุคคล
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
ระบบความเชื่อ.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
คิดแบบพอเพียง ของคนพอเพียง.
สมาชิก 1.น.ส.ศรวณีย์ อินทร์วงศ์ เลขที่ 11
คำสอน. คำสอน คำสอน พระพุทธเจ้าเคยอบรมสั่งสอนมนุษย์ไว้ว่า ทรัพย์สินที่พึงได้จากการประกอบ กิจการงานต่าง ๆ นั้น ควรแบ่งออกเป็น 4 กองเท่าๆ กัน.
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
วันอาสาฬหบูชา.
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 2003 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand.
โครงงานเกมส์บวกเลขหรรษา
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
Information Technology : IT
เด็กหานาฬิกา ชาวนาคนหนึ่ง หลังจากไปทำความสะอาดคอกม้า ออกมาก้อพบว่านาฬิกาพกของตน ได้หล่นหายไปเสียแล้ว นาฬิกาพกเรือนนี้มีความหมายต่อเขาอย่างมาก ด้วยเป็นของขวัญ.
นายไพโรจน์ สังหาญ ผู้อำนวยการโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 80
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
นี่หรือคือ การส่งท้าย ปีใหม่เรา ปัญหา ที่มีอยู่ รู้ว่าหนัก พ่อหลวง ควรได้พัก ไม่รู้หรือ ที่มันเกิด เพียงเพราะเงิน หนึ่งหยิบมือ หรือกระดาษ พวกนี้คือ ชีวิตคุณ.
งานที่ ๑ บันทึกสัมภาษณ์ครูภาษาอังกฤษ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
สายัณห์ สันทัด L.T. ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
งานชิ้นที่..1 ชื่อ น. ส. สุภาลัย หมายถม กลาง. ความหมายและคุณค่าของการ ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อ ความเจริญก้าวหน้าของทุกๆ.
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
การทัศนศึกษา.
โครงงานเศรษฐศาสตร์ เรื่อง ธนาคารขยะ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังคมศึกษา จัดทำโดย เด็กหญิงกมนณัทธ์ โชติกาณจนเรือง เลขที่ 16 เด็กหญิงชนิกานต์ อังคณาวรางคณา เลขที่ 21 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 เสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ NEXT

พลเมืองดี ศาสนา เศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ แบบทดสอบ BACK NEXT

ศาสนา (อังกฤษ: religion) หมายถึง ความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สิ่งเหนือธรรมชาติ ในหลักอภิปรัชญาว่าทุกสรรพสิ่งเกิดขึ้นมาดำรงอยู่และจะเป็นเช่นไรต่อไป มีหลักการ สถาบัน หรือประเพณี ที่เป็นที่เคารพโดยทั่วไป แล้วอาจกล่าวได้ว่า ศาสนาเป็นสิ่งที่ควบคุม และประสานความสัมพันธ์ของมนุษย์ ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข คือ ให้มีหลักการ ค่านิยม วัฒนธรรมร่วมกันและวิถีทางที่มนุษย์เลือกใช้ในการดำรงชีวิต ให้สังคมเป็นหนึ่งเดียวกัน มีแนวทางไปในทิศทางเดียวกัน ด้วยหลักจริยธรรม คุณธรรม ศิลธรรมที่เป็นบรรทัดฐานเดียวกัน BACK HOME NEXT

ศาสนาพุทธ ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยเป็นพุทธศาสนิกชนนิกายเถรวาท ซึ่งในปัจจุบันศาสนาพุทธในประเทศไทยได้ผสมผสานเข้ากับความเชื่อพื้นบ้าน อย่างเช่น การตั้งศาลพระภูมิเจ้าที่ การถือฤกษ์ นอกจากนี้จำนวนประชากรชาวไทย-จีนขนาดใหญ่ที่อพยพเข้ามาในประเทศก็นับถือทั้งศาสนาพุทธและประเพณีดั้งเดิม วัดพุทธในประเทศมีเอกลักษณ์ที่เจดีย์สีทองสูง และสถาปัตยกรรมพุทธในประเทศไทยคล้ายคลึงกับในประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกัมพูชาและลาว ซึ่งมีภูมิหลังทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ร่วมกัน BACK HOME NEXT

ศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมเป็นประชากรขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ในประเทศไทย ในบริเวณสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ตลอดจนบางส่วนของจังหวัดสงขลาและชุมพร มีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิม ประกอบด้วยทั้งผู้ที่มีเชื้อสายไทยและมาเลย์ คนส่วนใหญ่เชื่อกันว่าประชากรชาวมุสลิมส่วนใหญ่ของประเทศอาศัยอยู่มากที่สุดบริเวณนี้ BACK HOME NEXT

ศาสนาคริสต์ ศาสนาคริสต์มีประวัติศาสตร์ยาวนานในประเทศไทย ถูกนำเข้ามาเผยแผ่โดยมิชชันนารียุโรปตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1550 ศาสนาคริสต์มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศให้ทันสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในสถาบันสังคม การศึกษา สาธารณสุข และเทคโนโลยี ปัจจุบันประเทศไทยมีคริสต์ศาสนิกชนประมาณร้อยละ 0.8 ของประชากรทั้งหมด คิดเป็น 486,840 คน โดยเป็นชาวโรมันคาทอลิกประมาณ 250,000 คน อาศัยอยู่ตามภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ BACK HOME NEXT

องค์ประกอบศาสนาที่สำคัญที่สุด มี 5 ประการ คือ องค์ประกอบศาสนาที่สำคัญที่สุด มี 5 ประการ คือ 1. ศาสดา 2. คัมภีร์ศาสนา 3. นักบวช 4. ศาสนสถาน 5. สัญญลักษณ์ศาสดา BACK HOME NEXT

และเสรีภาพของ บุคคลอื่น พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิ และเสรีภาพของ บุคคลอื่น BACK HOME NEXT

ความสำคัญ       พลเมืองเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของสังคมของสังคมไทย เช่นเดียวกับสังคมอื่น ๆ ทุกสังคมย่อมต้องการพลเมืองที่มีคุณภาพ ซึ่งหมายถึงความมีร่างกายจิตใจดี คิดเป็น ทำเป็น แก้ไขปัญหาได้ มีประสิทธิภาพเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้า ความมั่นคงให้กับประเทศชาติและการเป็นพลเมืองดีนั้นย่อมต้องการปฏิบัติตามบรรทัดฐานและขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคมมีคุณธรรมเป็นแนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิตอีกด้วย เพื่อการพัฒนาสังคมให้ยั่งยืน BACK HOME NEXT

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาให้เป็นพลเมืองดี      วัตถุประสงค์ของการพัฒนาให้เป็นพลเมืองดี มีดังนี้         1. เพื่อให้รู้จักปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม         2. เพื่อปลูกฝังทักษะการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม         3. เพื่อปลูกฝังความมีระเบียบวินัย และเคารพกฎหมาย         4. เพื่อปลูกฝังให้มีทัศนคติและค่านิยมที่ดีต่อสังคม BACK HOME NEXT

 ลักษณะของพลเมืองดี คุณสมบัติพื้นฐาน คือ คุณสมบัติทั่วไปของการเป็นพลเมืองดี เช่นขยัน อดทน ซื่อสัตย์ ประหยัด รับผิดชอบ มีเหตุผล โอบอ้อมอารี มีเมตตา เห็นประโยชน์ส่วนรวมมีความสำคัญเสมอ คุณสมบัติเฉพาะ คือ คุณสมบัติเฉพาะอย่างที่สังคมต้องการให้บุคคลพึ่งปฏิบัติ เช่นต้องการบุคคลที่มี คุณธรรมนำความรู้ ต้องการให้คนในสังคมไทยหันมาสนใจ พัฒนาวิจัยในงานอาชีพด้านการเกษตรให้มาก เนื่องจากเป็นพื้นฐานของสังคมไทย เนื่องจากเป็นพื้นฐานของสังคมไทย เพื่อการพัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน BACK HOME NEXT

การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก 1 การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก 1. เคารพกฎหมายและปฏิบัติตามกฎระเบียบ 2.เป็นผู้มีเหตุผล และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นทุกคนย่อมมีอิสรเสรีภาพในการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน 3.ยอมรับมติของเสียงส่วนใหญ่  4.เป็นผู้นำมีน้ำใจประชาธิปไตย และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม  5.เคารพในสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น 6.มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน ประเทศชาติ 7.มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเมือง การปกครอง  8.มีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง 9. มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามหลักธรรม  BACK HOME NEXT

บทบาทหน้าที่ของพลเมืองดีต่อประเทศชาติ และสังคมโลก บทบาท  หมายถึง  การปฏิบัติตามสิทธิ  หน้าที่อันเนื่องมาจากสถานภาพของบุคคล  เนื่องจากบุคคลมีหลายสถานภาพในคนคนเดียว  ฉะนั้นบทบาทของบุคคลจึงต้องปฏิบัติไปตามสถานภาพในสถานการณ์ตามสถานภาพนั้น ๆ หน้าที่  หมายถึง  ภาระรับผิดชอบของบุคคลที่จะต้องปฏิบัติ  เช่น  หน้าที่ของบิดาที่มีต่อบุตร  เป็นต้น BACK HOME NEXT

เศรษฐศาสตร์ (แม่แบบ:Economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาการผลิต การบริโภคการกระจายสินค้าการค้า และการบริโภคสินค้าและบริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด"  BACK HOME NEXT

คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikosแปลว่าบ้านและnomosแปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 BACK HOME NEXT

เศรษฐศาสตร์จุลภาค ซึ่งสนใจพฤติกรรมขององค์ประกอบพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจซึ่งรวมถึง ตลาดแต่ละตลาดและตัวแทนทางเศรษฐกิจ(เช่นครัวเรือน หน่วยธุรกิจ ผู้ซื้อ และผู้ขาย) เศรษฐศาสตร์มหภาค จะสนใจเศรษฐกิจในภาพรวม ตัวอย่างเช่น อุปทานมวลรวมและอุปสงค์มวลรวม การว่างงาน เงินเฟ้อ การเติบโตของเศรษฐกิจ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง เป็นต้น BACK HOME NEXT

ภูมิศาสตร์ หมายถึง วิชาที่ศึกษาพื้นผิวโลกที่เกี่ยวกับภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ผลิตผล และคน รวมทั้งการกระจายของสิ่งต่างๆ เหล่านี้ หรือคือวิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับมนุษย์ สิ่งแวดล้อมกับมนุษย์ BACK HOME NEXT

สภาพทางภูมิศาสตร์ เป็นจุดอ้างก็น่าจะเรียกว่า อินโด - แปซิฟิค  มีพิกัดทางภูมิศาสตร์ ดังนี้           ทิศเหนือ  จดเส้นรุ้ง ๒๐ องศา ๒๕ ลิบดา ๓๐ พิลิบดา เหนือ ที่กิ่งอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย           ทิศใต้  จดเส้นรุ้ง ๕ องศา ๓๗ ลิบดา ที่กิ่งอำเภอเบตง จังหวัดยะลา           ทิศตะวันออก  จดเส้นแวง ๑๐๕ องศา ๓๗ ลิบดา ๓๐ พิลิบดา ที่อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี           ทิศตะวันตก  จดเส้นแวง ๙๗ องศา ๒๒ ลิบดา ตะวันออก ที่อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน  BACK HOME NEXT

1. ภูมิศาสตร์ระบบ (Systematic Geography) ประกอบด้วยเนื้อหาสาระทางด้าน สภาพแวดล้อมหรือกายภาพส่วนหนึ่ง และบทบาทของมนุษย์ในการดัดแปลงปรับปรุง สภาพแวดล้อมอีกส่วนหนึ่ง ทั้งสองระบบย่อยนี้ต่างมีผลกระทบต่อกันและกันและแสดง ออกมาให้เห็นทางด้านพื้นที่ ในระบบกายภาพ เนื้อหาจะประกอบด้วยส่วนย่อยต่างๆ ที่รวมกันเป็นระบบสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ BACK HOME NEXT

2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค (Regional Geography) คือ การเข้าถึงระบบเทศสัมพันธ์ (Spatial interaction)ด้วยการแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ ในการอธิบายผิวโลกที่มีมนุษย์อาศัยนั้น นักภูมิศาสตร์ใช้วิธีการแบ่งพื้นที่ออกเป็นขนาดต่างๆ กันตามเกณฑ์และวัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการกำหนดพื้นที่นั้นมีหลายอย่าง โดยทั่วไปต้องรวมเอาปัจจัยทางด้านกายภาพและวัฒนธรรมเข้าไว้ด้วยกัน นักภูมิศาสตร์นิยมแบ่งภูมิภาคออกตามระบบอากาศ BACK HOME NEXT

3. เทคนิคต่างๆ (Techniques) เนื่องจากวิชาภูมิศาสตร์เกี่ยวกับการสำรวจและ การบันทึกข้อมูลลงในแผนที่มาช้านาน หลักการทำแผนที่ตลอดจนศิลปะในการจัดรูปแบบข้อมูลต่างๆลงในแผนที่ได้กลายเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของ ภูมิศาสตร์ เทคนิคทางวิชาภูมิศาสตร์จึงเป็นการคำนวณสร้างโครงข่ายแผนที่ในลักษณะต่างๆ ออกมาใช้ตามวัตถุประสงค์ BACK HOME NEXT

เครื่องมือประเภทอุปกรณ์ทางภูมิศาสตร์   เข็มทิศ  เป็นเครื่องมือบอกทิศอย่างง่ายๆ  โดยจะทำปฏิกิริยากับแม่เหล็กโลก และแสดงค่าค่าของมุมบนหน้าปัด  วิธีใช้เข็มทิศ คือ วางเข็มทิศในแนวระนาบ ปรับหมุนหน้าปัดให้ทิศบอกค่าบนหน้าปัดอยู่ในตำแหน่งที่หันไปทางทิศเหนือแม่เหล็กโลก  BACK HOME NEXT

 เทปวัดระยะทาง  ใช้สำหรับวัดระยะทางของพื้นที่  เมื่อลงไปสำรวจหรือเก็บข้อมูลภาคสนาม  เทปวัดระยะทางมี  3 ชนิด  ได้แก่  เทปที่ทำด้วยผ้า  เทปที่ทำด้วยโลหะ  และเทปที่ทำด้วยโซ่ BACK HOME NEXT

 เครื่องมือย่อขยายแผนที่  (Pantograph)  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้จัดทำแผนที่อย่างหนึ่ง  เพื่อย่อหรือขยายแผนที่ให้ได้ขนาดหรือมาตราส่วนตามที่ต้องการ  โดยทั่วไปนิยมใช้แบบโต๊ะไฟ  ซึ่งมีแท่นวางแผนที่ต้นฉบับและมีไฟส่องอยู่ใต้กระจก  ทำให้แผนที่ต้นฉบับปรากฏเป็นเงาบนกระจกอย่างชัดเจน  ทั้งนี้ผู้จัดทำแผนที่  ดังกล่าว จะต้องลอกลายเพื่อย่อหรือขยายแผนที่ด้วยมือของตนเอง   BACK HOME NEXT

  กล้องวัดระดับ (Telescope)   เป็นอุปกรณ์วัดระดับความสูงจากพื้นดิน  เพื่อสำรวจพื้นที่สร้างถนน  โดยจะช่วยกำหนดระดับแนวถนนได้ตามที่ต้องการ BACK HOME NEXT

 กล้องสามมิติ หรือ สเตริโอสโคป (Stereoscope) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ดูรูปถ่ายทางอากาศ เพื่อพิจารณาความสูงต่ำของลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่นั้นๆ BACK HOME NEXT

แบบทดสอบ ข้อที่ 1.ศาสนาคืออะไร สิ่งที่คนต้องนำเงินมาบูชา สิ่งที่ทุกคนยึดเหนี่ยวจิตใจ สิ่งที่คนจนยึดเหนี่ยวจิตใจ สิ่งที่คนรวยยึดเหนี่ยวจิตใจ

ถูก NEXT

ผิด NEXT

ข้อที่ 2.ผู้ที่ก่อตั้งศาสนาคือใคร พระสงฆ์ แม่ชี กษัตริย์ ศาสดา ข้อที่ 2.ผู้ที่ก่อตั้งศาสนาคือใคร พระสงฆ์ แม่ชี กษัตริย์ ศาสดา

ถูก NEXT

ผิด NEXT

ข้อที่ 3.ศาสนาทุกศาสนาสอนให้ประชาชนเป็นอย่างไรเหมือนกันทุกศาสนา เป็นคนดี เป็นคนรวย เป็นคนจน เป็นคนเดินทางสายกลาง

ถูก NEXT

ผิด NEXT

ข้อที่ 4.หน้าที่คืออะไร ภาระรับผิดชอบของบุคคลที่จะต้องปฏิบัติ สิ่งที่คนเราไหว้วานคนอื่นทำ สิ่งที่คนเราไม่ต้องทำ การเป็นคนเลว

ถูก NEXT

ผิด NEXT

ข้อที่ 5. สถานการณ์ใดที่ถือว่าเป็นปฏิบัติตนเหมือนกับ ข้อที่ 5.สถานการณ์ใดที่ถือว่าเป็นปฏิบัติตนเหมือนกับ.คำว่า”หน้าที่พลเมือง” การนำเงินส่วนตัวไปบริจาคให้เด็กกำพร้า การเก็บขยะข้างถนน การทิ้งขยะลงบนถนน การทาสีโรงเรียนโดยเก็บเงินจากทางโรงเรียน

ถูก NEXT

ผิด NEXT

ข้อที่ 6.หน้าที่พลเมืองอยู่ในสาขาวิชาอะไร วิทยาศาสตร์ ชีวิตศาสตร์ ฟิสิกซ์ สังคม

ถูก NEXT

ผิด NEXT

ข้อที่ 7.ความหมายของเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ใดถูกต้อง แผนที่แสดงข้อมูล พื้นผิวโลกในรูปของกราฟิกด้วยมาตราส่วน ขนาดต่างๆ ลูกโลกคือ หุนจำลองที่สร้างด้วยวัสดุทรงพีระมิด GPS คือ การนำล่องด้วยจานข้าว กล้องวัดระดับ ใช้วัดระยะความกว้าง

ถูก NEXT

ผิด NEXT

ข้อที่ 8.ข้อใดคือ การใช้ประโยชน์ของแผนที่ การหาระยะทางจากแผนที่ ค่าใช้จ่ายสูง แผนที่หาได้ยาก แผนที่ไม่การวางจำหน่าย

ถูก NEXT

ผิด NEXT

ข้อที่ 9.เศรษฐศาสตร์ คืออะไร การบริโภคสินค้าและบริการสินค้า วิชาที่ต้องใช้หลักสูตรของวิชาภาษาไทยเรียน วิชาที่ต้องเรียนกับอาจารย์ที่เป็นดอกเตอร์เท่านั้น วิชาที่ต้องใช้เงินเรียนเยอะ

ถูก NEXT

ผิด NEXT

ข้อที่ 10.สหกรณ์แห่งแรกขอองประเทศไทยชื่อว่าอะไร วัดจันทร์จำกัดสินใช้ สหกรณ์อดัม สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์โรงเรียน

ถูก THE END

ผิด THE END