รายละเอียดของรายวิชา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระดับ เขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต ๑
Advertisements

หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
สวัสดีครับ. สวัสดีครับ รายวิชา ง40204 คอมพิวเตอร์เสริม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6.
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
สำรวจจุดเสี่ยงในพื้นที่รวม ๔ แห่ง 7
สขจ.สุพรรณบุรี ร่วมกับ อบต.ทัพหลวง สำรวจจุดเสี่ยงในพื้นที่รวม ๔ แห่ง
สขจ.สุพรรณบุรี ร่วมกับ อบต.หัวโพธิ์ สำรวจจุดเสี่ยงในพื้นที่รวม ๔ แห่ง
การติดตามและรายงานผลการ ปฏิบัติงาน ส่งเสริมการเกษตร ๒๕๕๔ ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ.
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
ดิจิตอลและการออกแบบตรรก
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
วิชาการโปรแกรมสำนักงาน และสารสนเทศ ง๒๑๒๔๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำนวน 1 หน่วยกิต ผู้สอน นางสาวพิมพ์พร เพ็ชอินทร.
Information Technology Code (21241) Teacher name Ms pimpon petin
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ภาค ๒ ว่าด้วยสิทธิที่ควรมีควรได้. บท ๑ ว่าด้วยการเงิน ตอน ๑ การเงิน.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การศึกษาแบบพี่สอนน้อง (Teen as Teachers)
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
LOGO ของฝากจากอาจารย์ อ้อ ชุดที่ 31.
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
การรายงาน การประเมินผลโครงการ
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ขั้นตอนในการประเมิน ขีดความสามารถ/ขีดสมรรถนะ ของข้าราชการ ทร.
กรอบคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๐-๑๑
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
ยกระดับคุณภาพครูให้เป็น
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ผลงาน โครงการ และ เกียรติประวัติ.
โครงงาน คุณธรรมจริยธรรมในชั้นเรียน
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
บทเรียนจาก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
My school.
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
การผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ด้านที่ ๓ ผลการดำเนินงาน
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
โรงเรียนปัญญาวรคุณ Panyaworakun school
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
บทบาทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ๑
ทักษะการปฏิเสธ หลักการปฏิเสธ  ๑) ควรปฏิเสธด้วยคำพูด น้ำเสียง ท่าทางที่จริงจังแต่มีความสุภาพ เพื่อแสดงความตั้งใจอย่างชัดเจนในการปฏิเสธ 
จำ Remember - Knowledge เข้าใจ Understanding ประยุกต์ Application วิเคราะห์ ( ความรู้ ) Analysis สังเคราะห์ ( เป็นความรู้ ใหม่ ) Synthesis 6 ขั้น.
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
เริ่มต้น เกม 4 ตัวเลือก โดย นายจำลอง ศรีอุทัย.
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
นายแพทย์ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ๒๔ กันยายน ๒๕๕๖.
๕. ๑ ใส่เสื้อขาว ทุกคน. ๕. ๒ ทำบุญใส่บาตร ฟัง เทศน์
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๖ การเขียนประชาสัมพันธ์
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การทัศนศึกษา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายละเอียดของรายวิชา Course Specification (มคอ. ๓) นำเสนอโดย ผศ.ดร.กิจจา สว่างเจริญ

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. ๓) Course Specification หมายถึง ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการรายวิชา เพื่อให้การเรียนการสอนสอดคล้องและเป็นไปตามที่วางไว้ในรายละเอียดหลักสูตร (มคอ. ๒)

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. ๓) Course Specification ประกอบด้วยข้อมูล ๗ หมวด ดังนี้ หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หมวดที่ ๕ แผนการสอนประกอบการเรียนการสอน หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

รายละเอียดของรายวิชา มคอ. ๓ Course Specification กรณีศึกษา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 (Computer Programming 1) INT102

หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย ๑. รหัสวิชาและชื่อรายวิชา : INT102 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 (Computer Programming1) ๒. จำนวนหน่วยกิต : 3 หน่วยกิต (2-2-6) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา : วิทยาศาสตรบันฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็น พื้นฐานวิชาชีพ ๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา : อ. สยาม แย้มแสงสังข์ ประธานหลักสูตร อ. พิเชฏฐ์ ลิ่มวชิรานันต์ ผู้สอน

หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย (ต่อ) ๕. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน : ภาคการศึกษาปีที่ 1 ชั้นปีที่ 1 ๖. วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) : ไม่มี ๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (ถ้ามี) : ๘. สถานที่เรียน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ๙. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดวิชาครั้งล่าสุด : 14 กุมภาพันธ์ 2552

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๒.๑ จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการทั่วไปในการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง คำสั่ง แบบลำดับ เลือกทำ และการวนซ้ำ การสร้างโปรแกรมย่อย โปรแกรมการแก้ไขตรวจสอบโปรแกรม การส่งผ่านค่าภายในโปรแกรม การบันทึกและการอ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล โดยการฝึกปฏิบัติ การใช้เครื่องมือในการพัฒนา

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๒.๒ วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แก้ปัญหาโจทย์ ในการประยุกต์ใช้ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 หากมีการพัฒนารายวิชาในปีต่อไป ควรมีการเปลี่ยนแปลงภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม มีการนำเครื่องมือช่วยให้การเขียนโปรแกรมมีคุณภาพมากยิ่งขึ้นมาใช้ พร้อมยกตัวอย่างอ้างอิงในการนำมาฝึกปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับแนวโน้มในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ ๓.๑ คำอธิบายรายวิชา (ตามที่ระบุไว้ในรายละเอียดหลักสูตร) ตัวอย่าง หลักการทั่วไปในการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง เช่น ตัวแปร ค่าคงที่ เครื่องหมายกระทำการ นิพจน์ ฟังชั่น คำสั่ง แบบตามลำดับ เลือกทำ และการวนซ้ำ การสร้างโปรแกรมย่อย การส่งผ่านค่าภายในโปรแกรม การบันทึกและอ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลโดยการฝึกปฏิบัติ การใช้เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม การตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ ๓.๒ จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา - บรรยาย 30 ชั่วโมง - การฝึกปฏิบัติ 30 ชั่วโมง - การศึกษาด้วยตนเอง 90 ชั่วโมง ๓.๓ จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษา อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายงานกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ และมีผู้ช่วยสอน (Learning Facilitator) ช่วยให้คำปรึกษาเพิ่มเติม และสอนเสริม

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง ซึ่งต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในแผนที่การกระจายความรับผิดชอบต่อมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตร สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๑.๑ คุณธรรมที่ต้องพัฒนา ๑.๒ วิธีการสอน ๑.๓ วิธีการประเมินผล ๒. ความรู้ ๒.๑ ความรู้ที่ต้องได้รับ ๒.๒ วิธีการสอน ๒.๓ วิธีการประเมินผล ๓. ทักษะทางปัญญา ๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ๓.๒ วิธีการสอน ๓.๓ วิธีการประเมินผล ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ ๔.๑ ทักษะที่ต้องพัฒนา ๔.๒ วิธีการสอน ๔.๓ วิธีการประเมินผล

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๑ คุณธรรม จริยธรรม (1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์การและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๑ คุณธรรม จริยธรรม (ต่อ) (2) วิธีการสอน บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรมประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโปรแกรม การละเมิดลิขสิทธ์โปรแกรม เช่น การใช้ โปรแกรมที่มีลิขสิทธ์ในการพัฒนางานประยุกต์ การหาโปรแกรมที่ไม่มีลิขสิทธ์เช่น Open source หรือ Freeware อภิปรายกลุ่ม/บทบาทสมมุติ กำหนดให้นักศึกษาหาโปรแกรม Open source ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนางาน (3) วิธีการประเมินผล พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม การเลือกใช้โปรแกรมในการแก้ปัญหาโจทย์ ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๒ ความรู้ หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๒ ความรู้ ความรู้ที่ต้องได้รับ มีความรู้ในหลักสูตรการแก้ปัญหา การแก้ปัญหาด้วยมนุษย์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หลักการทั่วไปในการเขียนโปรแกรม องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง ตัวแปร ค่าคงที่ เครื่องหมายกระทำการ นิพจน์ ฟังก์ชัน การจัดเก็บข้อมูล การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง สัญลักษณ์ต่างๆ ในการเขียนผังการทำงาน คำสั่ง แบบตามลำดับ และการวนซ้ำ กระบวนการของอาเรย์ การจัดเรียงข้อมูล การสร้างโปรแกรมย่อย การส่งผ่านค่าภายในโปรแกรม การบันทึกและอ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล การเขียนโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์ จาวาการฝึกปฏิบัติ การใช้เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม และการตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๒ ความรู้ (ต่อ) หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๒ ความรู้ (ต่อ) ความรู้ที่ต้องได้รับ (ต่อ) นักศึกษาจะได้รับความรู้ตามคุณสมบัติของหลักสูตร ดังนี้ มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด สามารถติดตั้งความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๒ ความรู้ (ต่อ) หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๒ ความรู้ (ต่อ) (2) วิธีการสอน บรรยาย ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ แก้ปัญหาโจทย์ การทำงานกลุ่ม การนำเสนอผลงานการเขียนโปรแกรม การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem-base Learning (3) วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ นำเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ และแก้ปัญหาโจทย์โดยการเขียนโปรแกรมจากกรณีศึกษา

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๓ ทักษะทางปัญญา หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๓ ทักษะทางปัญญา ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์โจทย์ และแก้ไขปัญหาโดยใช้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างสร้างสรรค์ นอกจากนี้ นักศึกษาจะมีทักษะทางปัญญาสอดคล้องกับคุณสมบัติของหลักสูตรดังนี้ คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๓ ทักษะทางปัญญา (ต่อ) หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๓ ทักษะทางปัญญา (ต่อ) (2) วิธีการสอน การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงาน และนำเสนอผลการศึกษา จากการวิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคนิคการเขียนโปรแกรม มาใช้ในการแก้ปัญหา การสะท้อนแนวคิดจากผลลัพธ์ที่เกิดจากการเขียนโปรแกรม และความประพฤติ (3) วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โจทย์ทางวิทยาศาสตร์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลนีสารสนเทศ

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔ หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๔ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา นักศึกษาจะมีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ตามข้อกำหนดในคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔ หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๔ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (ต่อ) (2) วิธีการสอน จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์โจทย์กรณีศึกษา และการนำเสนอวิธีแก้ปัญหา มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานต่างๆ การใช้คอมพิวเตอร์อำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน การนำเสนอรายงาน (3) วิธีการประเมินผล ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม รายงานการศึกษาด้วยตนเอง

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔ หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๕ ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔ หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๕ ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (ต่อ) นอกจากทักษะดังกล่าวตามคุณสมบัติของหลักสูตรแล้ว รายวิชานี้ นักศึกษาจะมีทักษะอื่นๆ อีก เช่น ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข ลำดับการทำงานของประโยคคำสั่งทางคณิตศาสตร์ ทักษะการคิดสูตรในการแก้ปัญหาโจทย์ทางคณิตศาสตร์ พัฒนาทักษะในการแปลและตีความ คำสั่งทางโปรแกรม การแก้ปัญหาจากข้อความแสดงความผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรม ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น Weblog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔ หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ๔.๕ ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) (2) วิธีการสอน มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็ปไซต์ สื่อการสอน e-learning และทำรายงาน โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม (3) วิธีการประเมินผล การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล 5.1 แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สิ่งที่ใช้ 1 แนวคิดในการแก้ปัญหาทั่วไป ขั้นตอนในการแก้ปัญหา ชนิดของปัญหา การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ ความยากในการแก้ปัญหา 2 บรรยาย ยกตัวอย่างปัญหา แนวทางแก้ไข ประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา แนะนำการใช้โปรแกรม EditPlus ในเรื่องวิธีใช้ และการตั้งค่าต่างๆ เพื่อการเขียนโปรแกรมในเบื้องต้น เขียนโปรแกรม HelloWorld แสดงข้อความว่า HelloWorld ขึ้นหน้าจอ เขียนโปรแกรมคำนวณแบบง่ายๆ ด้วยสูตร a = x * y + a / b และแสดงผลลัพธ์ทางหน้าจอ บรรยาย ยกตัวอย่างโปรแกรมฝึกปฏิบัติ

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล 5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการประเมิน กำหนดการประเมิน(สัปดาห์ที่) สัดส่วนของการประเมินผล 1 2.1-2.3, 2.5, 3.1, 3.4, 4.6, 5.1 สอบกลางภาค สอบปฏิบัติการ สอบปลายภาค 8 16 17 30% 20% 40% 2.1-2.3, 2.5, 3.1, 3.4, 4.6, 5.1 การส่งงานตามที่มอบหมายรายบุคคล ตลอดภาคการศึกษา 10%

หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 6.1 ตำราและเอกสารหลัก Maureen Sprankle, Problem Solving and Programming Concepts, 7th Edition, Prentice Hall, 2005 6.2 เอกสารและข้อมูลสำคัญ หนังสือ วารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม Allen B. Downey, How to Think Like a Computer Scientist, 4th Edition, 2003 http://thinkapjava.com David J. Eck, Introduction to Programming Using Java, 5th Edition, 2006

หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 6.2 เอกสารและข้อมูลสำคัญ (ต่อ) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับการสอนในห้องปฏิบัติการ มีดังนี้ JDK Version 6 Update 6 Eclipse Win32 SR2 Otto the Robot Version 1.0 EditPlus Version 3001.446 เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา http://math.hws.edu/javanotes http://java.sun.com/tutorial http://people.cis.ksu.edu/~shcmidt/CIS200/ http://thinkjava.com

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 6.3 เอกสารและข้อมูลแนะนำ หนังสือ วารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา 7.1 กลยุทธ์เพื่อให้ได้ผลการประเมินและข้อคิดเห็นจากนักศึกษาเกี่ยวกับความมีประสิทธิผลของรายวิชา กลยุทธ์ให้ได้ผลการประเมินจากนักศึกษาเกี่ยวกับรายวิชา ผู้สอน กระบวนการสอน เทคนิคการสอน และพัฒนาการของนักศึกษา ตัวอย่าง การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา 7.2 กลยุทธ์การประเมินการสอน การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมงานสอน ผู้สังเกตการณ์ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 7.3 การปรับปรุงการสอน ให้ระบุการในการปรับปรุง กลไกในการปรับปรุง มีการวิจัยในชั้นเรียน การประชุมหารือเพื่อการปรับปรุง ตัวอย่าง สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา 7.4 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรยวิชา เช่น การทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานที่มอบหมาย ตัวอย่าง การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา 7.5 การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา ระบุวิธีการนำข้อมูลจากการประเมิน จากข้อ 7.1 และ 7.2 การทวนสอบมาใช้เพื่อการปรับปรุงรายวิชา ตัวอย่าง ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์

ขอบคุณครับ