โครงการภายใต้แผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2553 (ประชาคมระยะที่ 1) จังหวัดนราธิวาส
1.โครงการสนับสนุนการเลี้ยงปลาในกระชังและบ่อดิน 1.1 กิจกรรมเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง เป้าหมาย 40 ราย - พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านประมงพื้นบ้าน 40 ราย - ฝึกอบรมแล้ว เมื่อวันที่ 24 - 25 กุมภาพันธ์ 2553 - สนับสนุนปัจจัยแล้ว เมื่อเดือนเมษายน 2553 ปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1. กระชังปลาขนาด 4*4 ตรม. รายละ 2 กระชัง 2. โครงกระชังพร้อมทุ่น 3. พันธุ์ปลากะพงขาวขนาด 6 - 7 นิ้ว รายละ 1,000 ตัว 4. อาหารปลา - ผลผลิตภาพรวม (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) จับผลผลิต บริโภค 530 กก. จำหน่าย 16,779.70 กก. รวม 17,409.70 กก. คิดเป็นมูลค่า 2,064,192 บาท
ภาพกิจกรรม
ภาพกิจกรรม
ภาพกิจกรรม การทยอยจับผลผลิตปลากะพงขาวในกระชัง ภาพกิจกรรม การทยอยจับผลผลิตปลากะพงขาวในกระชัง
ภาพกิจกรรม การทยอยจับผลผลิตปลากะพงขาวในกระชัง ภาพกิจกรรม การทยอยจับผลผลิตปลากะพงขาวในกระชัง
ภาพกิจกรรม การทยอยจับผลผลิตปลากะพงขาวในกระชัง ภาพกิจกรรม การทยอยจับผลผลิตปลากะพงขาวในกระชัง
ภาพกิจกรรม การทยอยจับผลผลิตปลากะพงขาวในกระชัง ภาพกิจกรรม การทยอยจับผลผลิตปลากะพงขาวในกระชัง
1. 2 กิจกรรมเลี้ยงปลานิลในกระชัง เป้าหมาย 20 ราย - พื้นที่ดำเนินการ 1 1.2 กิจกรรมเลี้ยงปลานิลในกระชัง เป้าหมาย 20 ราย - พื้นที่ดำเนินการ 1. หมู่บ้านยากจน 17 ราย 2. หมู่บ้านเสริมสร้างสันติสุข 1 ราย 3. หมู่บ้านประมงพื้นบ้าน 2 ราย - ฝึกอบรมแล้ว เมื่อวันที่ 11 – 12 มีนาคม 2553 - สนับสนุนปัจจัยแล้ว เมื่อเดือนเมษายน 2553 ปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1. กระชังปลาขนาด 4*4 ตรม. รายละ 2 กระชัง 2. โครงกระชังพร้อมทุ่น 3. พันธุ์ปลานิลขนาด 4 นิ้ว รายละ 1,000 ตัว 4. อาหารปลา
1.2 กิจกรรมเลี้ยงปลานิลในกระชัง (ต่อ) ผลผลิตภาพรวม (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) ทยอยจับผลผลิต บริโภค 468 กก. จำหน่าย 3,511 กก. รวม 4,472 กก. คิดเป็นมูลค่า 238,200.00 บาท
ภาพกิจกรรม
ภาพกิจกรรม
- ฝึกอบรมแล้ว เมื่อวันที่ 8 – 9 เมษายน 2553 1.3 กิจกรรมเลี้ยงปลากินพืชในบ่อดิน เป้าหมาย 20 ราย - พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านยากจน 20 ราย - ฝึกอบรมแล้ว เมื่อวันที่ 8 – 9 เมษายน 2553 - สนับสนุนปัจจัยการผลิตแล้ว ปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1.ปรับปรุงบ่อ 2.พันธุ์ปลานิลขนาด 3 นิ้ว (จำนวนปลาขึ้นอยู่กับขนาดของบ่อปลา) 3.อาหารปลา - ผลผลิตภาพรวม (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) ทยอยจับผลผลิต บริโภค 130 กก. จำหน่าย 1,070 กก. รวม 1,200 กก. คิดเป็นมูลค่า 44,700 บาท
ภาพกิจกรรม
2.โครงการสนับสนุนการเลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน เป้าหมาย 100 ราย - พื้นที่ดำเนินการ 1.หมู่บ้านยากจน 64 ราย 2.หมู่บ้านประมงพื้นบ้าน 36 ราย - ฝึกอบรมแล้ว เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2553 - สนับสนุนปัจจัยการผลิตแล้ว ปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1.ปรับปรุงบ่อ 2.พันธุ์ปลาดุกขนาด 3 นิ้ว รายละ 2,500 ตัว 3.อาหารปลา - ผลผลิตภาพรวม (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) ทยอยจับผลผลิต บริโภค 3,263 กก. จำหน่าย 32,560 กก. รวม 35,992กก. คิดเป็นมูลค่า 1,244,317 บาท
ภาพกิจกรรม
ภาพกิจกรรม
3.โครงการปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมง เป้าหมาย 100 ราย 3.โครงการปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมง เป้าหมาย 100 ราย - พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านประมงพื้นบ้าน 100 ราย - ฝึกอบรมแล้ว เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 - สนับสนุนปัจจัยแล้ว เมื่อเดือนเมษายน 2553 ปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1.อวนลอยกุ้ง, อวนลอยปู, อวนลอยปลากะพง, อวนลอยปลากระบอก, อวนลอยปลาทราย, อวนลอยปลาทู, อวนลอยปลาหลังเขียว, อวนลอยปลาจาระเม็ด, อวนลอยปลาดาบลาว, อวนลอยปลากุเรา 2.เชือกโพลีเอทิลีน 3.ทุ่นพลาสติก, ทุ่นยาง 4.ตะกั่ว - ผลผลิตภาพรวม (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) ทยอยจับผลผลิต บริโภค 1,884.00 กก. จำหน่าย 59,480.40 กก. รวม 61,363.40 กก. คิดเป็นมูลค่า 4,969,032.00 บาท
ภาพกิจกรรม
4.โครงการเฝ้าระวังทรัพยากรชายฝั่งทะเลเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป้าหมาย 100 ราย - พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านประมงพื้นบ้าน 100 ราย - ฝึกอบรมแล้ว เมื่อวันที่ 24-25 มีนาคม 2553 - ส่งมอบเรือตรวจการณ์แล้ว จำนวน 2 ลำ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2553 - จ้างเหมาอาสาสมัครอนุรักษ์ทรัพยากรประมง จำนวน 12 ราย
ภาพกิจกรรม
งบประมาณที่ใช้ไป - งบประมาณที่ได้รับ 13,213,690.00 บาท - งบประมาณที่ได้รับ 13,213,690.00 บาท - งบประมาณที่ใช้ไป 11,166,827.97 บาท - งบประมาณคงเหลือ 2,046,862.03 บาท ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 1. ตัวเกษตรกร 1.1 เกษตรกรไม่มีพื้นที่ดำเนินการ 1.2 มีพื้นที่ไม่เหมาะสม เช่น ไม่มีแหล่งน้ำ - กรณีเกษตรกรสละสิทธิ์ในภายหลัง/ ไม่มีพื้นที่ดำเนินงาน/พื้นที่ไม่เหมาะสม ให้ 4 เสาหลักยืนยันการสละสิทธิ์และให้ เกษตรกรที่ผ่านการประชาคมรายอื่นเข้า ร่วมโครงการได้ 1.3 เกษตรกรเสียชีวิต กรณีเกษตรกรเสียชีวิตให้ภรรยาหรือ ทายาท ดำเนินการแทนได้
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 2. เกษตรกรจำนวนหนึ่งประสบปัญหา ภัยแล้ง ไม่มีน้ำในการเลี้ยง (การเลี้ยง ปลากินพืชในบ่อดินและปลาดุกในบ่อดิน) ทำให้การดำเนินงานล่าช้า ไม่เป็นไปตาม แผนงาน ตรวจสอบคัดเลือกพื้นที่ให้มีความ เหมาะสม เช่น มีแหล่งน้ำเพียงพอสำหรับ การเลี้ยงปลาตลอดระยะเวลาการเลี้ยง 3. ช่วงประมาณเดือนตุลาคม-มกราคม ของทุกปี จะเป็นช่วงฤดูมรสุม ทำให้ น้ำจืดน้ำพรุไหลหลากลงสู่แหล่งเลี้ยง ปลากะพงขาวในกระชัง ทำให้ปลา เจริญเติบโตช้าและตาย วางแผนการสนับสนุนปัจจัยการผลิต และเริ่มเลี้ยงก่อนเดือนพฤษภาคม เพื่อ จะได้จับผลผลิตขายก่อนฤดูมรสุมจะมา
โดย...สำนักงานประมงจังหวัดนราธิวาส จบการนำเสนอ... โดย...สำนักงานประมงจังหวัดนราธิวาส