มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถิติ
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
V-NET คืออะไร V-NET ย่อมาจาก Vocational National Education Test หมายถึงการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ทางด้านอาชีวศึกษา เป็นการทดสอบวัดความรู้มาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพ.
โรงเรียนในฝัน
หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ยินดีต้อนรับสู่กิจกรรม
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค
วิสัยทัศน์ “คณะศึกษาศาสตร์เป็นองค์กรผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา ชั้นนำในระดับภูมิภาคอาเซียนโดยใช้วิจัยเป็นฐานในบริบทสังคม พหุวัฒนธรรม”
วิชาการโปรแกรมสำนักงาน และสารสนเทศ ง๒๑๒๔๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำนวน 1 หน่วยกิต ผู้สอน นางสาวพิมพ์พร เพ็ชอินทร.
Information Technology Code (21241) Teacher name Ms pimpon petin
“ทฤษฎีและปฎิบัติ สร้างสรรค์และวิจัย การละครร่วมสมัย”
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบสืบค้นหนังสือห้องสมุดคลังความรู้
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ. ศ
ยินดีต้อนรับ คณะผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ร่วมพิจารณา ร่างหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 27 กรกฎาคม.
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
รายละเอียด แผ่น CD Folder 1 KM เอกสารชุดความรู้ สตน. ๒๕๕๓ รวม ๑๓ บท และ เอกสารอ้างอิง ( ๓๐๙ หน้า ) Folder 2 KM ชุดนำเสนอ ( Power Point.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
การรับสมัครและคัดเลือก บุคคลเข้าศึกษาหลักสูตรต่าง ๆ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
ความเป็นมา เป็นไป
My school.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การประชุมผู้ปกครองนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ เรื่อง “กำหนดการสอบและเอกสารการศึกษา”” โดย นางพรรณี จินตมาศ.
ร่างตารางเปรียบเทียบ หลักสูตร พ. ศ กับหลักสูตร ปรับปรุง พ. ศ หลักสูตรศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการ สอนภาษาไทย.
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
Professor Dr. Nipone Sookpreedee Professor Dr. Nipone Sookpreedee Siam University Siam
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
การปฐมนิเทศ โดย แผนกศึกษา รร.พจ.ยศ.ทร.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวภายในคณะศึกษาศาสตร์ แก่ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ๒. เพื่อเป็นสื่อกลางในการเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างคณาจารย์
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ วันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ ฯพณฯ พงศ์เทพ เทพ.
การปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวเนื่อง นายธานินทร์ เงินถาวร งานบริการการศึกษา.
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
บทบาทหน้าที่ครูแกนนำ
บทบาทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ๑
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
กราบนมัสการ พระปริยัติสารเวที,ดร. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
การขับเคลื่อน ศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาจังหวัด
ชื่อหลักสูตร หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา Bachelor of ……. Program in ………….
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปรัชญา : จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ๕ ปี สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๔

ชื่อปริญญา ชื่อเต็มภาษาไทย : พุทธศาสตรบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ศึกษา) เอกสารหลักสูตร หน้า ๑ ชื่อปริญญา ชื่อเต็มภาษาไทย : พุทธศาสตรบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ศึกษา) ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts (Computer Education) ชื่อย่อภาษาไทย : พธ.บ. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.A. (Computer Education)

ชื่อหลักสูตร ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา (หลักสูตร ๕ ปี) ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Computer Education ( 5 Years Program)

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เอกสารหลักสูตร หน้า ๑ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๑. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ป เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีทางการศึกษา ๒. เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถนำความรู้ทางคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีทางการศึกษา มาประยุกต์ใช้ในการสอนและงานเผยแผ่ ทางพระพุทธศาสนา ๓. เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้นำที่มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักพระพุทธศาสนา

โครงสร้างหลักสูตร ๑. จำนวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร ๑๗๗ หน่วยกิต เอกสารหลักสูตร หน้า ๔ โครงสร้างหลักสูตร ๑. จำนวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร ๑๗๗ หน่วยกิต ๒. โครงสร้างหลักสูตรของหลักสูตร แบ่งออกเป็นหมวดวิชา ดังนี้ ๑) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๓๐ หน่วยกิต ก. วิชาบังคับ ๑๘ หน่วยกิต ข. วิชาเลือก ๑๒ หน่วยกิต ๒) หมวดวิชาชีพครู จำนวน ๕๐ หน่วยกิต ๓) หมวดวิชาเฉพาะด้าน จำนวน ๙๑ หน่วยกิต ก. วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๓๐ หน่วยกิต ข. วิชาแกนพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต ค. วิชาเฉพาะสาขา ๕๑ หน่วยกิต ๔) หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต รวม ๑๗๗ หน่วยกิต

แผนภูมิแสดงสัดส่วนโครงสร้างหลักสูตร เอกสารหลักสูตร หน้า ๒๘

วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๓๐ หน่วยกิต เอกสารหลักสูตร หน้า ๘ วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๓๐ หน่วยกิต มีรายวิชาดังต่อไปนี้ ๑. ๒๑๐ ๑๐๑ เทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้ด้านพระพุทธศาสนา ๒(๒-๐-๔) ๒. ๒๑๐ ๑๐๒ การประยุกต์ใช้มัลติมีเดียทางพระพุทธศาสนา ๒(๒-๒-๒) ๓. ๒๑๐ ๒๐๓ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านพระพุทธศาสนา ๒(๒-๐-๔) ๔. ๒๑๐ ๒๐๔ เทคโนโลยีกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๒(๒-๐-๔) ๕. ๒๑๐ ๓๐๕ การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา ๒(๒-๒-๒)

วิชาเฉพาะสาขา จำนวน ๕๑ หน่วยกิต เอกสารหลักสูตร หน้า ๘ วิชาเฉพาะสาขา จำนวน ๕๑ หน่วยกิต วิชาบังคับ ๓๐ หน่วยกิต ๑. ๒๑๐ ๓๐๖ สถาปัตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร์ ๓(๓-๐-๖) ๒. ๒๑๐ ๓๐๗ ระบบปฏิบัติการ ๓(๒-๒-๕) ๓. ๒๑๐ ๓๐๘ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓(๒-๒-๕) ๔. ๒๑๐ ๓๐๙ กฎหมายและจรรยาบรรณทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓(๓-๐-๖) ๕. ๒๑๐ ๓๑๐ คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ ๓(๓-๐-๖) ๖. ๒๑๐ ๓๑๑ การวิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบ ๓(๒-๒-๕) ๗. ๒๑๐ ๓๑๒ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ๓(๒-๒-๕) ๘. ๒๑๐ ๓๑๓ ข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล ๓(๒-๒-๕) ๙. ๒๑๐ ๓๑๔ คอมพิวเตอร์กราฟิกและภาพเคลื่อนไหว ๓(๒-๒-๕) ๑๐. ๒๑๐ ๓๑๕ การศึกษาอิสระทางคอมพิวเตอร์ศึกษา ๓(๓-๐-๖)

วิชาเฉพาะสาขา จำนวน ๕๑ หน่วยกิต (ต่อ) เอกสารหลักสูตร หน้า ๘ วิชาเฉพาะสาขา จำนวน ๕๑ หน่วยกิต (ต่อ) ข. วิชาเลือก ๒๑ หน่วยกิต ๑. ๒๑๐ ๔๑๖ คอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยทางการศึกษา ๓(๒-๒-๕) ๒. ๒๑๐ ๔๑๗ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ๓(๒-๒-๕) ๓. ๒๑๐ ๔๑๘ การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์สำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓(๓-๐-๖) ๔. ๒๑๐ ๔๑๙ การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการเรียนการสอน ๓(๒-๒-๕) ๕. ๒๑๐ ๔๒๐ การจัดการฐานข้อมูลทางการศึกษาและคลังข้อสอบ ๓(๒-๒-๕) ๖. ๒๑๐ ๔๒๑ ระบบคอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา ๓(๒-๒-๕) ๗. ๒๑๐ ๔๒๒ การพัฒนาสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา ๓(๒-๒-๕) ๘. ๒๑๐ ๔๒๓ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ ๓(๒-๒-๕) ๙. ๒๑๐ ๔๒๔ การพัฒนาเกมเพื่อการเรียนการสอน ๓(๒-๒-๕) ๑๐. ๒๑๐ ๔๒๕ โปรแกรมสำเร็จรูปและการประยุกต์ใช้งาน ๓(๓-๐-๖)

การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(มคอ.๑) เอกสารหลักสูตร หน้า ๒๙ การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(มคอ.๑) กลุ่มวิชา ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรฐาน รายวิชาคณะครุศาสตร์มจร. สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์เพื่อการศึกษา เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล และระบบอินเทอร์เน็ต การบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ (๒) การประยุกต์ใช้มัลติมีเดียทางพระพุทธศาสนา (๔) เทคโนโลยีกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิชาบังคับ สถาปัตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร์ (๒) ระบบปฏิบัติการ (๓) การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (๔) กฎหมายและจรรยาบรรณทางเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชาเลือก (๕) ระบบคอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา (๖) โปรแกรมสำเร็จรูปและการประยุกต์ใช้งาน

การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(มคอ.๑) เอกสารหลักสูตร หน้า ๒๙ การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(มคอ.๑) กลุ่มวิชา ๒ การออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์การศึกษาและการเขียนโปรแกรม มาตรฐาน รายวิชาคณะครุศาสตร์มจร. คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ การออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์การศึกษา การจัดระบบสารสนเทศทางการศึกษา การจัดการฐานข้อมูลทางการศึกษา การเขียนโปรแกรม การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์การศึกษา วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ (๑) เทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้ด้านพระพุทธศาสนา (๓) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านพระพุทธศาสนา วิชาบังคับ คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล การศึกษาอิสระทางคอมพิวเตอร์ศึกษา วิชาเลือก (๖) คอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยทางการศึกษา (๗) การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์สำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๘) การจัดการฐานข้อมูลทางการศึกษาและคลังข้อสอบ

การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(มคอ.๑) เอกสารหลักสูตร หน้า ๒๙ การจัดกลุ่มวิชาเฉพาะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(มคอ.๑) กลุ่มวิชา ๓ การออกแบบและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา มาตรฐาน รายวิชาคณะครุศาสตร์มจร. การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก การออกแบบบทเรียนมัลติมีเดียและแอนิเมชัน การออกแบบโปรแกรมการสอนผ่านเว็บ วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ (๕) การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา วิชาบังคับ คอมพิวเตอร์กราฟิกและภาพเคลื่อนไหว วิชาเลือก (๒) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (๓)การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการเรียนการสอน (๔)การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (๕)การพัฒนาสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา (๖)การพัฒนาเกมเพื่อการเรียนการสอน

แผนภูมิแสดงภาพรวมสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา วิชาพระพุทธศาสตร์ประยุกต์และวิชาเฉพาะสาขา (จัดกลุ่มตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.๑)

แผนภูมิแสดงสัดส่วนวิชาเฉพาะสาขา วิชาบังคับ ๓๐ หน่วยกิต เอกสารหลักสูตร หน้า ๓๐ แผนภูมิแสดงสัดส่วนวิชาเฉพาะสาขา วิชาบังคับ ๓๐ หน่วยกิต (จัดกลุ่มตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.๑)

แผนภูมิแสดงสัดส่วนวิชาเฉพาะสาขา วิชาเลือก ๒๑ หน่วยกิต เอกสารหลักสูตร หน้า ๓๑ แผนภูมิแสดงสัดส่วนวิชาเฉพาะสาขา วิชาเลือก ๒๑ หน่วยกิต (จัดกลุ่มตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.๑)

คำอธิบายรายวิชา พระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต เอกสารหลักสูตร หน้า ๒๐ คำอธิบายรายวิชา พระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต ๒๑๐ ๑๐๑ เทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้ด้านพระพุทธศาสนา ๒(๒-๐-๔) ศึกษาหลักการ และทฤษฏีการจัดการความรู้ รูปแบบการจัดการความรู้พระพุทธศาสนา การจัดการความรู้ด้านศาสนธรรม ด้านศาสนบุคคล ด้านศาสนพิธี ด้านศาสนวัตถุ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้

คำอธิบายรายวิชา พระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต เอกสารหลักสูตร หน้า ๒๑ คำอธิบายรายวิชา พระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต ๒๑๐ ๑๐๒ การประยุกต์ใช้มัลติมีเดียทางพระพุทธศาสนา ๒(๒-๒-๒) ศึกษาความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของมัลติมีเดีย อุปกรณ์มัลติมีเดีย องค์ประกอบของมัลติมีเดียด้านตัวอักษร(Text) ภาพนิ่ง(Graphic) ภาพเคลื่อนไหว(Animation) เสียง(Sound) และวิดีโอ(Video) โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับพัฒนาสื่อมัลติมีเดียด้านพระพุทธศาสนา การประยุกต์ใช้มัลติมีเดียด้านพระพุทธศาสนา

เอกสารหลักสูตร หน้า ๒๑ คำอธิบายรายวิชา พระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต ๒๑๐ ๒๐๓ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านพระพุทธศาสนา ๒(๒-๐-๔) ศึกษาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานอัตโนมัติ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การพัฒนาระบบสารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศกิจการคณะสงฆ์ การประยุกต์ ใช้สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการพระพุทธศาสนาและกิจการคณะสงฆ์

เอกสารหลักสูตร หน้า ๒๑ คำอธิบายรายวิชา พระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต ๒๑๐ ๒๐๔ เทคโนโลยีกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๒(๒-๐-๔) ศึกษาสื่อการศึกษาทางพระพุทธศาสนา หลักธรรมนิเทศ การจัดการความรู้ทางพระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาทางสื่อสิ่งพิมพ์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาทางวิทยุการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทางโทรทัศน์การเผยพระพุทธศาสนาทางสื่อออฟไลน์และออนไลน์ สื่อสารมวลชนกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

เอกสารหลักสูตร หน้า ๒๑ คำอธิบายรายวิชา พระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต ๒๑๐ ๓๐๕ การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา ๒(๒-๒-๒) ศึกษาแนวคิดและการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา โดยการนำเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการสอนพระพุทธศาสนา ฝึกปฏิบัติพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนาให้สอดคล้องและเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาพระพุทธศาสนา ทดลองใช้และรายงานผลการทดลองสื่อการสอนพระพุทธศาสนา