บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กลุ่มการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ด้อยโอกาส สำนักส่งเสริมและพิทักษ์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โดย กศน. จังหวัดเลย.  นายศรีวิชัย ตลับนาค  นายเฉลิมพณ หยาดหลั่งคำ  นายดุสิต สาระมโน  น. ส. สุธิดา พุทธทองศรี  น. ส. ปิยะฉัตร กมลรัตน์
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
เสนอ อภิปรายการศึกษาดูงาน กศน. จังหวัดมุกดาหาร. แนวคิดในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ มีการบริงานชัดเจน - การกระจายอำนาจปกครองลงไปสู่ระดับตำบล - มีการจัดสรรงบประมาณ.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.

แนวคิด หลักการ กศน.ตำบล 1. ยึดชุมชนเป็นฐาน 2. ใช้ทุนของชุมชน 3. การมีส่วนร่วมของชุมชน

วัตถุประสงค์ กศน.ตำบล 1. เป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมใน การจัด กศน. 3. ประสานและเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน

การดำเนินงาน กศน.ตำบล 1. การบริหารจัดการ 1.1 ด้านกายภาพ - อาคารสถานที่ - สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ์ 1.2 ด้านบุคลากร / องค์คณะบุคคล - คณะกรรมการ กศน.ตำบล - หัวหน้า กศน.ตำบล - ครู กศน. ประเภทต่าง ๆ - อาสาสมัคร - ภาคีเครือข่าย

1.3 ด้านกิจกรรม - ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของชุมชน (Information Center) - ศูนย์สร้างโอกาสการเรียนรู้ (Opportunity Center) - ศูนย์การเรียนชุมชน (Learning Center) - ศูนย์ชุมชน (Community Center)

1.4 การนิเทศ ติดตาม และรายงานผล - การนิเทศติดตามผลการจัดกิจกรรมตาม แผนปฏิบัติการประจำปี - การรายงานผลการการจัดกิจกรรมตาม

บทบาทหน้าที่ของหัวหน้า กศน.ตำบล 1. การวางแผน - จัดทำฐานข้อมูลของตำบล - จัดทำแผนพัฒนา กศน.ตำบล - จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2. การจัดและส่งเสริม กศน. ในตำบล 3. บริการการเรียนรู้ในชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่าย 4. สร้างและพัฒนาเครือข่าย 5. ประชาสัมพันธ์ 6. รายงานผลการปฏิบัติงาน

ประเด็นอภิปรายกลุ่ม กลุ่มที่ 1 บทบาทสำนักงาน กศน. ในการส่งเสริมสนับสนุน กศน.ตำบล กลุ่มที่ 2 บทบาท สถาบัน กศน.ภาคในการส่งเสริมสนับสนุน กลุ่มที่ 3 บทบาท กศน.จังหวัด ในการสร้างเสริมสนับสนุน กลุ่มที่ 4 บทบาท กศน.อำเภอ ในการส่งเสริมสนับสนุน

ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ภาพรวมของ กทม. ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,400 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ กทม. - มีแขวงทั้งหมด 154 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 154 แห่ง

ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ภาพรวมของ ภาคกลาง ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,400 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ ภาคกลาง - มีตำบลทั้งหมด 1,360 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 1,358 แห่ง

ภาพรวมของ ภาคตะวันออก ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,400 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ ภาคตะวันออก - มีตำบลทั้งหมด 572 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 571 แห่ง

คู่มือการปฏิบัติงาน หัวหน้า กศน.ตำบล สำนักงาน กศน.ได้จัดการพิมพ์ คู่มือปฏิบัติงาน หัวหน้า กศน.ตำบล เสร็จแล้ว และได้จัดส่งให้ สำนักงาน กศน.จังหวัด และสถานศึกษาขึ้นตรงทุกแห่ง เมื่อวันที่ 3 ก.พ. 54 ให้สำนักงาน กศน.จำหวัด/กทม. และกศน.อำเภอ/เขต ได้ทำการประชุมชี้แจง หัวหน้า กศน.ตำบล และผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการให้ชัดเจน เพื่อนำสู่การปฏิบัติ ให้สำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. และกศน.อำเภอ/เขต ให้การสนับสนุนและกำกับติดตาม การดำเนินงาน กศน.ตำบล อย่างใกล้ชิด

ร่าง มาตรฐาน กศน.ตำบล ปี 2554 สำนักงาน กศน.

มาตรฐาน กศน.ตำบล ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ มาตรฐาน กศน.ตำบล ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการนิเทศติดตามและ รายงานผล

ด้านการบริหารจัดการ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ อาคาร สภาพเหมาะสม มั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ สื่อ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ การบริหารงบประมาณ บุคลากร ปฏิบัติงาน ครอบคลุมตามภารกิจ ที่กำหนด

ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ เป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารของชุมชน(Information Center) เป็นศูนย์สร้างโอกาสการเรียนรู้(Opportunity Center) เป็นศูนย์การเรียนชุมชน(Learning Center) เป็นศูนย์ชุมชน(Community Center)

ด้านการมีส่วนร่วม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม กศน. ตำบล มีการเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ในตำบล และต่างตำบล ชุมชนมีส่วนร่วมใน การส่งเสริมการดำเนินงาน กศน.ตำบล

ด้านการนิเทศติดตามและรายงานผล มี 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ด้านการนิเทศติดตามและรายงานผล มี 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ การนิเทศติดตามผล การรายงานผล และการสรุปผล

เกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ในแต่ละด้านจะมีเกณฑ์การพิจารณา ตามลักษณะของกิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินจะมี 5 ระดับ ได้แก่ 1 ต้องปรับปรุง 2 ควรปรับปรุง 3 พอใช้ 4 ดี 5 ดีมาก