บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
แนวคิด หลักการ กศน.ตำบล 1. ยึดชุมชนเป็นฐาน 2. ใช้ทุนของชุมชน 3. การมีส่วนร่วมของชุมชน
วัตถุประสงค์ กศน.ตำบล 1. เป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมใน การจัด กศน. 3. ประสานและเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน
การดำเนินงาน กศน.ตำบล 1. การบริหารจัดการ 1.1 ด้านกายภาพ - อาคารสถานที่ - สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ์ 1.2 ด้านบุคลากร / องค์คณะบุคคล - คณะกรรมการ กศน.ตำบล - หัวหน้า กศน.ตำบล - ครู กศน. ประเภทต่าง ๆ - อาสาสมัคร - ภาคีเครือข่าย
1.3 ด้านกิจกรรม - ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของชุมชน (Information Center) - ศูนย์สร้างโอกาสการเรียนรู้ (Opportunity Center) - ศูนย์การเรียนชุมชน (Learning Center) - ศูนย์ชุมชน (Community Center)
1.4 การนิเทศ ติดตาม และรายงานผล - การนิเทศติดตามผลการจัดกิจกรรมตาม แผนปฏิบัติการประจำปี - การรายงานผลการการจัดกิจกรรมตาม
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้า กศน.ตำบล 1. การวางแผน - จัดทำฐานข้อมูลของตำบล - จัดทำแผนพัฒนา กศน.ตำบล - จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2. การจัดและส่งเสริม กศน. ในตำบล 3. บริการการเรียนรู้ในชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่าย 4. สร้างและพัฒนาเครือข่าย 5. ประชาสัมพันธ์ 6. รายงานผลการปฏิบัติงาน
ประเด็นอภิปรายกลุ่ม กลุ่มที่ 1 บทบาทสำนักงาน กศน. ในการส่งเสริมสนับสนุน กศน.ตำบล กลุ่มที่ 2 บทบาท สถาบัน กศน.ภาคในการส่งเสริมสนับสนุน กลุ่มที่ 3 บทบาท กศน.จังหวัด ในการสร้างเสริมสนับสนุน กลุ่มที่ 4 บทบาท กศน.อำเภอ ในการส่งเสริมสนับสนุน
ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ภาพรวมของ กทม. ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,400 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ กทม. - มีแขวงทั้งหมด 154 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 154 แห่ง
ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ภาพรวมของ ภาคกลาง ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,400 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ ภาคกลาง - มีตำบลทั้งหมด 1,360 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 1,358 แห่ง
ภาพรวมของ ภาคตะวันออก ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,400 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ ภาคตะวันออก - มีตำบลทั้งหมด 572 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 571 แห่ง
คู่มือการปฏิบัติงาน หัวหน้า กศน.ตำบล สำนักงาน กศน.ได้จัดการพิมพ์ คู่มือปฏิบัติงาน หัวหน้า กศน.ตำบล เสร็จแล้ว และได้จัดส่งให้ สำนักงาน กศน.จังหวัด และสถานศึกษาขึ้นตรงทุกแห่ง เมื่อวันที่ 3 ก.พ. 54 ให้สำนักงาน กศน.จำหวัด/กทม. และกศน.อำเภอ/เขต ได้ทำการประชุมชี้แจง หัวหน้า กศน.ตำบล และผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการให้ชัดเจน เพื่อนำสู่การปฏิบัติ ให้สำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. และกศน.อำเภอ/เขต ให้การสนับสนุนและกำกับติดตาม การดำเนินงาน กศน.ตำบล อย่างใกล้ชิด
ร่าง มาตรฐาน กศน.ตำบล ปี 2554 สำนักงาน กศน.
มาตรฐาน กศน.ตำบล ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ มาตรฐาน กศน.ตำบล ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการนิเทศติดตามและ รายงานผล
ด้านการบริหารจัดการ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ อาคาร สภาพเหมาะสม มั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ สื่อ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ การบริหารงบประมาณ บุคลากร ปฏิบัติงาน ครอบคลุมตามภารกิจ ที่กำหนด
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ เป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารของชุมชน(Information Center) เป็นศูนย์สร้างโอกาสการเรียนรู้(Opportunity Center) เป็นศูนย์การเรียนชุมชน(Learning Center) เป็นศูนย์ชุมชน(Community Center)
ด้านการมีส่วนร่วม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม กศน. ตำบล มีการเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ในตำบล และต่างตำบล ชุมชนมีส่วนร่วมใน การส่งเสริมการดำเนินงาน กศน.ตำบล
ด้านการนิเทศติดตามและรายงานผล มี 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ด้านการนิเทศติดตามและรายงานผล มี 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ การนิเทศติดตามผล การรายงานผล และการสรุปผล
เกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ในแต่ละด้านจะมีเกณฑ์การพิจารณา ตามลักษณะของกิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินจะมี 5 ระดับ ได้แก่ 1 ต้องปรับปรุง 2 ควรปรับปรุง 3 พอใช้ 4 ดี 5 ดีมาก