Lecture 1 – บทบาทและหน้าที่ของนักพัฒนาระบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
Information System and Technology
การบริหารกลุ่มและทีม
หลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนา ซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจ ทำไมจึงเรียนสาขานี้ – บุคลาการด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ยังเป็นที่ ต้องการในบริษัทที่ปรึกษา.
ซอฟต์แวร์.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
แนะนำการวิเคราะห์และการออกแบบ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
Operating System ฉ NASA 4.
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
Knowledge Management (KM)
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การเงิน.
Analyzing The Business Case
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หมวด2 9 คำถาม.
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS Management Information System
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
Benchmarking.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Information Technology
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
บทที่ 3 Planning.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Information Technology : IT
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
กระบวนการทำงานและบุคลากร
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lecture 1 – บทบาทและหน้าที่ของนักพัฒนาระบบ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Contents การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ ความรับผิดชอบของ SA คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ หน้าที่ของ SA ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Contents กิจกรรมของระบบ การทำงานในแต่ละระบบ ผู้ใช้ระบบ การเตรียมตัวเป็น SA ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) การวิเคราะห์ระบบ คือ ขบวนการในการค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริงตลอดจนการวิเคราะห์ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในระบบปัจจุบันเพื่อจัดหาสารสนเทศหรือระบบใหม่มาสนับสนุนการปฏิบัติงานของพนักงานทุกระดับ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร What the system should do? How to accomplish the system objective? How is the suitable solution? ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

System Analyst (นักวิเคราะห์ระบบ) นักพัฒนาระบบ (SA&SD) users Programmers Organization Committee ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ ผู้วิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศให้กับองค์กร ผู้ศึกษาถึงปัญหาของระบบงาน ความต้องการของนักธุรกิจ เจ้าของระบบ หรือผู้บริหาร โดยพิจารณาปัจจัย 3 ประการมาใช้ในการปรับปรุง แก้ไขปัญหา คน (People) วิธีการ (Method) คอมพิวเตอร์ (Computer Technology) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศคือ ผู้มีความรู้และ เชี่ยวชาญในหลายแขนง คือ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) Programmer หัวหน้าโครงงาน (Project leader) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ความรับผิดชอบของ SA 1. วิเคราะห์และประเมินผล เพื่อหาความเป็นไปได้ของระบบ 2. วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากระบบ 3. แจกแจงสิ่งต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องพัฒนา เพื่อทดแทนระบบเดิม 4. กำหนดทางเลือกต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหา 5. เลือก HW และ SW ตามความเหมาะสม 6. ออกแบบและวางระบบงานให้สัมพันธ์กัน 7. ให้คำแนะนำต่าง ๆ เมื่อระบบงานถูกนำไปใช้ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ มีความรู้และประสบการณ์ในแต่ละระบบงาน มีความรู้ในการประมวลผลข้อมูล มีวินัย สามารถกำหนดแผนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมนุษยสัมพันธ์ทีดี ถ่ายทอดได้ในด้าน พูด เขียน อ่าน ควรมีพื้นความรู้ Math. And Stat. สามารถควบคุมการสนทนาให้ได้ตามเป้าหมาย มีความคิดริเริ่ม ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หน้าที่ของ SA 1. ทำงบประมาณรายจ่าย 2. กำหนด แผนงาน/ระยะเวลา ที่ต้องใช้ในการพัฒนาระบบ 3. สัมภาษณ์ - รวบรวมข้อมูลที่สำคัญในการพัฒนาระบบ 4. ทำเอกสารและวิเคราะห์ระบบงานเดิม 5. พัฒนาระบบงานโดยใช้เทคโนโลยีปัจจุบันเพื่อแก้ปัญหา 6. วิเคราะห์ปัจจัยที่เหมาะสม เช่น เทคโนโลยี, การปฏิบัติการ และฐานะทางเศรษฐกิจ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หน้าที่ของ SA (Cont.) 7. ทบทวนและยื่นข้อเสนอเพื่อพิจารณาอนุมัติ 8. ออกแบบและทดสอบความถูกต้องของระบบ 9. ออกแบบ File, Database ของระบบ 10. ออกแบบ User Interfaces 11. ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หน้าที่ของ SA (Cont.) 12. ออกแบบระบบ Security Control 13 แนะนำ ดูแล ด้านการเขียนโปรแกรม 14. วางแผนงานต่าง ๆ เพื่อให้ได้ระบบที่ได้พัฒนาใหม่ ใช้แทน ระบบเก่าให้มีความยุ่งยากน้อยที่สุด ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กิจกรรมของระบบ 1. ระดับปฏิบัติ (Operation Level) กิจกรรมที่เกิดขึ้นประจำ เป็นงานที่เป็นหน้าที่รับผิดชอบประจำวัน 2. ระดับเทคนิควิธี (Tactical Level) กิจกรรมที่เป็นการทำงานเชิงเทคนิค อาจเกิดขึ้นไม่บ่อย เช่นให้คำปรึกษา แก้ปัญหา หรือวางแผนระยะสั้น 3. ระดับกลยุทธ์ (Strategic Level) กิจกรรมเกี่ยวกับการบริหารระดับสูงหรือการวางแผนระยะยาวของระบบ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การทำงานในแต่ละระบบ การสร้างข้อมูล (Creation) การประมวลผล (Processing) การกระจายข้อมูลและการใช้ (Distribution and using of Information) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ใช้ระบบ ผู้ใช้ระบบ คือ ผู้กำหนดปัญหาและแนวทางของระบบงานที่จะนำมาแก้ไขซึ่งปัญหา แต่ผู้ใช้(เช่น ผู้บริหาร/นักธุรกิจ) ไม่ทราบวิธีที่จะนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการแก้ปัญหา หรือช่วยเหลือในการบริหาร เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์/โปรแกรมเมอร์ คือ ผู้ที่สามารถใช้เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์และป้อนคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่เจ้าหน้าที่มักไม่เข้าใจถึงระบบการทำงานขององค์กร/ธุรกิจมากนัก ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเภทของผู้ใช้ระบบ 1. กลุ่มปฏิบัติการระบบและเครื่องโดยตรง (hand-on / End-user) Functional 2. กลุ่มใช้สารสนเทศที่ได้จากระบบ (Indirect End-user) Supervisory 3. ผู้จัดการ/ผู้บริหารระดับกลาง (User Manager) Tectnical 4. ผู้บริหารระดับสูง (Top Management) Strategic ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ความสัมพันธ์ของบุคคลในระบบ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรงของ SA ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การเตรียมตัวเป็น SA 1. ความรู้ทางด้านเทคนิคของระบบงานข้อมูล และเทคโนโลยี 2. ประสบการณ์ด้านการเขียนโปรแกรม 3. ความรู้ทั่วไปทางด้านธุรกิจ 4. ความสามารถในการแก้ปัญหาและหาวิธีแก้ปัญหา ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การเตรียมตัวเป็น SA(cont.) 5. มนุษย์สัมพันธ์และความสามารถในการติดต่อสื่อสาร การสัมภาษณ์ (Interviewing) การนำเสนอ (Presentation) การเป็นผู้รับฟัง (Listening) การทำงานเป็นทีม (Group work or Team) 6. ประสบการณ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

What System Analyst is not It is NOT : Studying a business to see which existing processes should be handled by computer and which should be done by non-computerized methods. The emphasis is on understanding the details of a situation and deciding whether improvement is desired or feasible. The selection of computer and non-computer methods is secondary. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ What is SA role? At various times, the SA will play some or all of the following roles. Reporter Consultant Investigator Puzzle solver Simplifier Artist Detective Organizer Evaluator Indian scout Sculptor ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Conclusion การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เนื้อหาของนักวิเคราะห์ระบบ บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ ความรับผิดชอบของ SA คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ หน้าที่ของ SA ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Conclusion กิจกรรมของระบบ ระดับปฏิบัติ (Operation Level) ระดับเทคนิควิธี (Tactical Level) ระดับกลยุทธ์ (Strategic Level) การทำงานในแต่ละระบบ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Conclusion ผู้ใช้ระบบ ประเภทของผู้ใช้ระบบ กลุ่มปฏิบัติการระบบและเครื่องโดยตรง (hand-on / End-user) กลุ่มใช้สารสนเทศที่ได้จากระบบ (Indirect End-user) ผู้จัดการ/ผู้บริหารระดับกลาง (User Manager) ผู้บริหารระดับสูง (Top Management) การเตรียมตัวเป็น SA ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์