Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทเรียนโปรแกรม Power Point
Advertisements

เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ระบบเศรษฐกิจ.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
ระบบการบริหารการตลาด
MK201 Principles of Marketing
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
การค้ามนุษย์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
Free Trade Area Bilateral Agreement
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ตลาดและการแข่งขัน.
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง.
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
โครงสร้างขององค์การ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
สถาบันเศรษฐกิจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ

Production System Exchange System ระบบเศรษฐกิจคืออะไร พฤติกรรมที่กระทำอยู่เสมอจนกลายเป็นที่ยอมรับของบุคคลในสังคมต่างๆ และยึดถือเป็นแบบหรือแนวทางในการปฏิบัติของสมาชิกในสังคมอันเกี่ยวเนื่องกับระบบต่างๆ ในทางเศรษฐกิจดังต่อไปนี้ Production System Exchange System

Division of Labour Asset Holding Production Chain

1. Private Enterprise องค์ประกอบของระบบเศรษฐกิจ หน่วยเศรษฐกิจที่สำคัญ ผู้บริโภคหรือครัวเรือน หน่วยธุรกิจ 1. Private Enterprise

Owner Operator Business Partnership Limited Company

2. รัฐวิสาหกิจ รัฐบาลในแง่เศรษฐกิจ Public Goods

หน้าที่ของระบบเศรษฐกิจ สร้างกลไกหรือองค์การขึ้นมาเพื่อให้สังคมโดยส่วนรวมสามารถตัดสินใจในการเลือกใช้ทรัพยากรในด้านต่างๆ ได้ ระบบเศรษฐกิจต้องมีกลไกสามารถทำการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ดังนี้

ผลิตสินค้าและบริการชนิดใด ผลิตสินค้าปริมาณเท่าไร ผลิตอย่างไรจะใช้วิธีการผลิตแบบไหน จะแบ่งผลผลิตกันอย่างไร

1. Primitive Economy ประเภทของระบบเศรษฐกิจ ผลิตเพื่อการบริโภคเท่านั้น ทุกคนมีส่วนร่วมในทรัพย์สินเท่าเทียมกัน

2.1 Free Enterprise Economy 2. Modern Economy 2.1 Free Enterprise Economy เอกชนมีสิทธิเหนือทรัพย์สิน มีการแข่งขันโดยเสรี ผู้บริโภคมีเสรีภาพเลือกซื้อสินค้า

Centrally – Planned Economy 2.2 Socialism รัฐบาลเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและทรัพย์สิน Centrally – Planned Economy ไม่อาศัยกำไรเป็นเครื่องจูงใจ มุ่งกระจายรายได้ให้เท่าเทียม

2.3 Mixed Economy เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ครัวเรือน หน่วยธุรกิจ มีบทบาทสำคัญ การแข่งขันธุรกิจขนาดใหญ่เท่านั้น รัฐบาลเข้ามาควบคุมมิให้มีการผูกขาดในกิจการต่างๆ มากเกินไป

ระบบเศรษฐกิจแบ่ง 4 ประการ 1. Capitalism Competition 2. Socialism

3. Communism 4. Mixed Economy

หน้าที่ของสถาบันทางเศรษฐกิจ บำบัดความต้องการทางเศรษฐกิจ ให้ความสะดวกแก่ มน. ในการใช้ประโยชน์ พัฒนาและสร้างความเจริญก้าวหน้า ช่วยเหลือในการบริโภคให้เป็นไปได้อย่างเพียงพอ

ปัญหาที่เกิดจากสถาบันเศรษฐกิจของไทย ความยากจนและช่องว่างในการกระจายรายได้ มลภาวะของสิ่งแวดล้อม การโยกย้ายถิ่นของคนในท้องถิ่นต่างๆ การแย่งชิงของทรัพยากร

การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางสังคม วิกฤตทางวัฒนธรรม

ลักษณะเศรษฐกิจของสังคมไทย ระบบเศรษฐกิจไทยขึ้นอยู่กับผลิตผลทางการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ ถูกครอบงำโดยต่างชาติเป็นส่วนใหญ่

มีการผูกขาดการถือครองปัจจัยการผลิตและผูกขาดการลงทุนอยู่กับบุคคลกลุ่มเดียว รัฐบาลมิได้จัดระบบการกระจายรายได้ของสังคมไทยอย่างรัดกุม จึงทำให้การกระจายรายได้เลวลง

เนื่องจากอำนาจรัฐถูกควบคุมโดยบุคคลกลุ่มน้อย การดิ้นรนและความพยายามที่จะหารายได้มาใช้จ่ายในลักษณะฟุ่มเฟือย การยอมรับเอาวัฒนธรรมการใช้จ่ายของชาวต่างประเทศเข้ามาอย่างรวดเร็วและการกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม เนื่องจากอำนาจรัฐถูกควบคุมโดยบุคคลกลุ่มน้อย

ปัญหาเศรษฐกิจของสังคมไทย จงอธิบายปัญหาเศรษฐกิจของสังคมไทยในปัจจุบัน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างชัดเจน ส่งในคาบเรียน ครับ

Take Home 1. ระบบเศรษฐกิจแบบผสมคืออะไร มีความเหมาะสมกับประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร จงอธิบาย 2.จงอธิบายปัจจัยที่สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยว่า ประกอบด้วยอะไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่างให้ชัดเจน