การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ประเด็น คำถามและคำตอบ 1. จากสถานการณ์งบประมาณที่มีแนวโน้มว่าการ จัดสรรงบประมาณอาจลดลง มวล. ควรเร่งหารายได้เพิ่ม และมียุทธศาสตร์ใน.
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การอ่านและวิเคราะห์ SAR
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
หมวด2 9 คำถาม.
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการขอรับรอง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กรณีความเสี่ยง DMSc.
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน 1. ผู้ช่วยรองอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานี ประธาน 2. นางเบญจนาฏ ดวงจิโน กรรมการ 3. หัวหน้างานพัสดุ กรรมการ 4. หัวหน้างานการเจ้าหน้าที่ กรรมการ 5. หัวหน้างานสารบรรณ กรรมการ 6. นางสาวทัศนีย์ ฤกษ์สโมสร เลขานุการ โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

ภาพรวม จุดเด่น กองแผนงาน วข. ปน. มีความสามารถใน การดำเนินการได้มากกว่าแผนที่คาดหวัง สอดคล้องกับภารกิจ วิสัยทัศน์ ของ หน่วยงานและวิทยาเขต เป็นตัวเชื่อมประสานกับองค์กรอื่นๆ ได้เป็น อย่างดี มีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสามารถทำงาน อย่างเป็นระบบ บุคลากรมีความใฝ่รู้ บุคลากรมีความรู้ความสามารถในด้านการ สร้างสรรค์ผลงานในเชิงเทคโนโลยี สารสนเทศที่เอื้อต่อการบริหารจัดการแก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดี โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินด้วยวาจา

ภาพรวม ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ภารกิจที่ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 เรื่องภาวะ ผู้นำ ควรเพิ่มภาวะผู้นำของผู้บริหาร ในทุกระดับ ตัวบ่งชี้ 1.7 การบริหารความเสี่ยง ควรนำผลการรายงานการควบคุม ภายในที่ สตง. กำหนดมารายงานใน SAR ด้วย โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินด้วยวาจา

ภาพรวม ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ตัวบ่งชี้ 1.8 ผลการปฏิบัติงานยังไม่ ครบทั้ง 8 ข้อ ( ยังขาดข้อ 8) ตัวบ่งชี้ 1.9 ควรตั้งแผนให้สอดคล้อง กับนโยบายการพัฒนาบุคลากรของ มหาวิทยาลัย คือ 100 เปอร์เซ็นต์ การให้คะแนนตัวบ่งชี้ทุกตัวที่ระบุได้ 5 คะแนน ในขั้นตอนการวิเคราะห์ SWOT ไม่ควรเขียนให้ขัดแย้งกับผล การประเมิน โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินด้วยวาจา

ภาพรวม ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ตัวบ่งชี้ 1.12 ผลการดำเนินงานในปี 51 ไม่ควรตั้งแผนไว้ต่ำกว่าผลการ ปฏิบัติงานในปี 50 ตัวบ่งชี้ที่ 1.15 รายงานไว้ว่ามีการ ดำเนินงานครบทุกข้อ แต่ในส่วนการ วิเคราะห์ SWOT ในบางตัวบ่งชี้ ขัดแย้งกัน เช่น 1.2 และ 1.3 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินด้วยวาจา

ภาพรวม ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 หน้า 61 การเขียน วิเคราะห์ SWOT ในส่วนของโอกาส ควรอ้างถึงปัจจัยภายนอกที่มีส่วน สนับสนุนให้ประสบความสำเร็จ ตัวบ่งชี้ 2.2 หน้า 62 การเขียน รายละเอียดไม่มีการเอาเกณฑ์มาตั้ง ซึ่งรูปแบบไม่สอดคล้องกับข้ออื่นๆ โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินด้วยวาจา

ภาพรวม ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การตั้งแผนไม่ควรตั้งให้ต่ำลงจาก เดิม ควรมีการตั้งแผนให้ท้าทายการ เช่น ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ควรจะตั้งแผนให้ ท้าทาย ควรเขียนตอบโจทย์ให้ชัดเจน เช่น หน้า 19 ข้อ 3 ยังไม่ได้บอกถึงการ วิเคราะห์ หน้า 35 ไม่มีเอกสารอ้างอิง และใน หน้า 36 เอกสารอ้างอิงยังไม่ สอดคล้องกัน โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินด้วยวาจา

ข้อเสนอแนะและทิศทางการพัฒนาในภาพรวม สิ่งที่ต้องการพัฒนาเร่งด่วน 3-5 อันดับ ควรมีการเตรียมความพร้อมทุกส่วนงานเพื่อ รองรับในการปรับเปลี่ยนเข้าสู่การยกฐานะเป็น กอง ควรมีการบริหารจัดการระบบข้อมูลให้เป็น ปัจจุบันและสามารถนำมาใช้ได้ตามเวลาที่ ต้องการ ควรมีทิศทางการพัฒนาองค์กรเพื่อมุ่งสู่ความ เป็นเลิศ โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

ผลการประเมินด้วยวาจา สรุปข้อมูลจากการสัมภาษณ์ Stakeholders 1. อาจารย์ 1 คน 2. บุคลากรสายสนับสนุน 1 คน 3. นักศึกษา 1 คน โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

ผลการประเมินด้วยวาจา สรุปข้อมูลจากการสัมภาษณ์ Stakeholders 1. บริการรวดเร็ว 2. มีการทำงานและเป็นระบบที่ดี ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการทำงานในเชิงรุก 2. ควรมีสถานที่ที่ทำงานให้เหมาะสมมากกว่านี้ โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน